Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 3
กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป็นนโยบายสาธารณะที่มีความสำคัญ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ
ภาครัฐจะใช้เป็นเครื่องมือในการกำหนด ทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร การแก้ไขปัญหาการกระจายรายได้ กระจายความเจริญสู้ชนบท
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพแวดล้อมภายนอกประเทศ
สังคม
เทคโนโลยี
เศรษฐกิจ
การเมืองระดับโลก
สภาพแวดล้อมภายในประเทศ
เศรษฐกิจ
สังคม
การเมือง
วัฒนธรรม
การบริหาร
ผู้มีหน้าที่และผู้ที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายตุลาการ
ฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ายบริหาร
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในนโยบายรัฐ
ประชาสังคม
กลุ่มผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ประชาชนทั่วไป
ขั้นตอนของกระบวกการนโยบายในการ บริหารงานส่งเสริมและพัฒนาเกษตร
การกำหนดนโยบายไปปฏิบัติในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาเกษตร
หลัก
พื้นที่-พันธกิจ-การมีส่วนร่วม
A-F-P
การส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ใช้แผนพัฒนา 5 ปี ตามระยะเวลาในช่วงแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรอบแนวทาง ดำเนินการ เพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ต่อไป
การกำหนดนโยบายในการบริหาร งานส่งเสริมและพัฒนาเกษตร
การระบุประเด็น
การก่อตัวของปัญหาหรือโอกาส
การตัดสินใจกำหนดทางเลือก
การกำหนดวัตถุประสงค์
ต้องวิเคราะห์ข้อมูลจากการทบทวน ผลการดำเนินงานและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรเพื่อกำหนด นโยบายที่มีความสอดคล้องกัน
การประเมินนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาเกษตร
การประเมินได้โดยวิธีการทดลอง การตรวจติดตาม หรือการประมวลวิเคราะห์ จากกผลการดำเนินงานของหน่วยงานที่นำไปปฏิบัติ
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เพื่อให้ทราบว่าการดำเนินงานดังกล่าวสามารถทำให้หน่วยงานบรรลุเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ ภายใต้ภารกิจหลัก ได้มากน้อยเพียงใด
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริม และพัฒนาเกษตรของประเทศไทย
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาเกษตรตามบทบัญญัติของกฎหมาย
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายอื่นๆเช่น การกำหนดให้บุคลมีเสรีภาพ ในการประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรี
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาเกษตรตามบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ปัจจุบันใช้แผนฯ ฉับบที่12 เกิดการมี ส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาในการกำหนด ทิศทางการแก้ปัญหาหรือการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศได้ให้ความสำคัญกับ ข้อมูลกระแสความเปลี่ยนแปลงและสภาพ แวดล้อมที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ทัน กับความเปลี่ยนแปลงและตอบสนองต่อปัจจัย แวดล้อมทั้งภายในประเทศและสภาพแวดล้อม ของโลก
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและ พัฒนาเกษตรของรัฐบาลและส่วนราชการ
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตรของกระทรวงเกษตร และสหกรณ์จะสอดคล้องกับสภาพ แวดล้อมภายในประเทศและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมระดับโลกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารรวมทั้งให้มีการจัดการทรัพยากรการเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพสมดุลและยั่งยืน
การพัฒนาเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร การพัฒนาการผลิตที่เอื้อต่อสิ่งแวดล้อม พัฒนาโครงการพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุนเกษตรกร
นางสาวสปัญญ์ อ่อนสำลี
รหัส 265900570