Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hepatitis B - Coggle Diagram
Hepatitis B
พยาธิสภาพแบ่งได้ 4ระยะ
- ระยะแรกเมื่อได้รับเชื้อ hepattis B vius เข้าสู่ร่างกาย เชื้อจะแบ่งตัวอย่างรวดเร็วแต่ผู้ที่ได้รับเชื้อจะยังไม่มีอาการแสดง เอมไซม์ตับปกติซึ่งแสดงว่ายังไม่มีการอักเสบของตับ แต่หากตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลบวกและพบ hepattis B virus DNA (viral load) จำนวนมาก
- ระยะที่สอง ประมาณ 2-3 เดือนหลังจากได้รับเชื้อ hepatitis B virus จะมีอาการอ่อนเพลียคล้ายเป็นหวัด คลื่นไส้อาเจียน จุกแน่นใต้ชายโครงจากตับโต ปัสสาวะเข้ม ตัวเหลืองตาเหลือง ตับเริ่มมีการอักเสบชัดเจน ตรวจพบเอมไชม์ตับสูงขึ้น ในระยะนี้ร่างกายจะสร้าง anti-HBe ขึ้นมาเพื่อทำลาย HBeAg ดังนั้นหากตรวจเลือดจะพบ anti-HBe ให้ผลบวกและจำนวน hepatitis B virus DNA ลดลง
- ระยะที่สาม เป็นระยะที่ antiHBe ทำลาย HBeAg จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL20,000 IU/mL) อาการตับอักเสบจะค่อย ๆ ดีขึ้นร่างกายจะสร้างภูมิคุ้มกันและเข้าสู่ระยะโรคสงบ(inactive carrier) ซึ่งหากตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ anti-HBe ให้ผลบวก และค่าเอมไซม์ตับปกติ
- ระยะที่สี่ เป็นระยะที่เชื้อกลับมามีการแบ่งตัวขึ้นมาใหม่ (re-activation phase) ทำให้กิดการอักเสบของตับขึ้นมาอีก หากตรวจเลือดจะพบ HBeAg ให้ผลลบ และanti-HBe ให้ผลบวกในระยะนี้ถ้า anti:-HBe ไม่สามารถทำลาย HBeAg ได้จนเหลือน้อยกว่า 105 copies/mL จะเข้าอยู่ภาวะตับอักเสบเรื้อรังจนเนื้อตับเสียหายมีพังผืดแทรกจนเป็นตับแข็งและกลายเป็นมะเร็งตับ
การประเมินและวินิจฉัย
1.การซักประวัติ เป็นพาหะหรือเคยมีอาการแสดงของไวรัสตับอักเสบบี ?เคยสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็นโรคตับอักเสบบี
-
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยเจาะเลือดดูการทำงานของตับ และตรวจดู antigen ,antibody ของไวรัสได้แก่HBsAg,Anti-HBs, Anti-HBc, HBeAg และ Anti-HBe
-
ผลกระทบ
- มารดา ไม่มีอาการแสดงของตับอักเสบไม่เสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ ถ้าติดเชื้อในไตรมาส 3 ของการตั้งครรภ์จะเพิ่มความเสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนดและ แท้ง
- ทารก น้ำหนักตัวน้อย ตายในครรภ์หรือเสียชีวิตแรกเกิดทารกที่คลอดออกมามีโอกาสติดเชื้อได้สามารถพัฒนาเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับในอนาคต
ทารกน้ำหนักแรกเกิด 2,620 g.
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ hepatitis B
vius ผ่านทางเลือด น้ำลาย น้ำอสุจิสิ่งคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำนม และผ่านทางรก เมื่อเชื้อไวรัสเข้าสู่เซลล์ตับจะแบ่งตัวได้รวดเร็วส่งผลให้เกิดการอักเสบเรื้อรัง โดยที่ผู้ติดเชื้อบางรายอาจไม่มีอาการของตับอักเสบทำให้ไม่ทราบว่าตนเองมีเชื้ออยู่ในร่างกาย แต่ตับยังคงมีการอักเสบเรื้อรังอย่างต่อเนื่องทำ
ให้กลายเป็นตับแข็งและมะเร็งตับในอนาคต
อาการและอาการแสดง
คล้ายอาการติดเชื้อไวรัสอื่นๆ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ปวดศีรษะคล้ายไข้หวัดใหญ่ ปวดท้องด้านขวาบน- Jaundice,Hepatomegaly
การรักษาและการพยาบาล
- การคัดกรองหญิงตั้งครรภ์เป็นพาหะเรื้อรัง(มี HB Ag) หรือไม่ ถ้าเป็นป้องกันการเกิดเชื้อไปยังทารกด้วยการให้ Hepatitis B immunoglobin
2.ช่วยเหลือระยะคลอดผู้ทำคลอดจะต้องพยายามดูดเมือกและเลือดออกจากปากและจมูกทารกมากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ ไม่ว่าจะคลอดด้วยวิธีใด เชื่อว่าจะช่วยลดปริมาณไวรัสที่ทารกจะสัมผัสหรือกลืน
3.การแยกมารดาและทารก เมื่อเมื่อทารกคลอดต้องรีบทำความสะอาดทารกทันที เพราะเลือดจากมารดาที่เป็นพาหะเรื้อรังถือว่าติดเชื้อได้
- ดูแลทารกให้ได้รับภูมิคุ้มกันHepatitis B immunoglobulin (HBIG) ภายใน 12-24 ชั่วแรกหลังคลอดHepatitis virus วัคซีน(HBV) 3ครั้งเมื่อแรกเกิดหรือภายใน 1 สัปดาห์หลังคลอด 1 เดือนและ 6 เดือน
-
- ให้งด breastfeeding ในรายที่หัวนมแตกหรือมีการอักเสบติดเชื้อ