Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคิดเชิงคำนวณ :explode: - Coggle Diagram
การคิดเชิงคำนวณ :explode:
บทที่4 การทำข้อมูลให้เป็นภาพและการสื่อสารด้วยข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
:red_flag:
หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับโดยผ่านช่องทาง
สื่อสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการส่งข้อมูล
องค์ประกอบของการสื่อสาร โดยทั่วไปมี 4 ประการ
คือ :red_flag: 1.ผู้ส่งสาร 2.สาร 3.ช่องทางการสื่อสารหรือสื่อ 4.ผู้รับสาร
วัตถุประสงค์หลักของการนำการสื่อการข้อมูลมาประยุกต์ใช้ในองค์การประกอบด้วย
:red_flag: เช่น เพื่อรับข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งกำเนิดข้อมูล เพื่อส่งและกระจายข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เพื่อลดเวลาการทำงาน
การทำข้อมูลให้เป็นภาพ (Data Visualization)
การนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ :red_flag: (data visualization)สามารถช่วยตอบคำถามหรือนำเสนอประเด็นต่างๆ ได้รวดเร็ว และชัดเจนมากขึ้น ดังคำกล่าวที่
ว่า ภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดพันคำ (A Picture is worth a thousand words) :
การเล่าเรื่องจากข้อมูล (Data Story Telling)
:red_flag: เป็นการถ่ายทอดเนื้อหา ความรู้ ผลลัพธ์จากข้อมูลที่ผ่านการ วิเคราะห์และประมวลผลออกมาเป็นภาพ
มีวิธีการนำเสนอ 4 รูปแบบ
แบบตู้กดน้ำ
แบบร้านกาแฟ
แบบห้องสมุด
แบบห้องทดลอง
ข้อควรระวังในการนำเสนอข้อมูล :red_flag:
ข้อมูลที่นำมาใส่ในงานนำเสนอนั้นจะต้องสั้น กระชับ ตรงตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการนำเสนอ
สีที่ใช้ต้องสบายตา และน่าสนใจ
รูปที่ใช้จะต้องสอดคล้องกับเนื้อหา
4.รูปที่นำมาใส่ในงานนำเสนอจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป
5.ภาพเคลื่อนไหวควรใส่ให้เหมาะสม ไม่มากไม่น้อยเกินไป
6.การใช้พื้นหลัง (Backgrond) ควรหลีกเลี่ยงการใช้รูปภาพเป็นพื้นหลังเพราะจะทำให้ตัวหนังสือ
อ่านยาก
บทที่ 5 การแบ่งปันข้อมูล(Data Sharing)
การแบ่งปันข้อมูลคือ :red_flag: การนำความรู้ ข้อมูลหรือสิ่งต่างๆ ที่ได้จากประสบการณ์จริง หรือการค้นคว้ามาบอกต่อผู้อื่น
ช่องทางในการ :red_flag:
สื่อสาร 1.การสื่อสารโดยตรง 2.สื่อมวลชน 3.สื่อสังคมออนไลน์
บทที่ 6 จริยธรรมและจรรยาบรรณของนัก
คอมพิวเตอร์และ พ.ร.บ.
คอมพิวเตอร์ 2560
จริยธรรมคอมพิวเตอร์ หมายถึง :red_flag: หลักศีลธรรมจรรยาที่กำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุมการใช้ระบบคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
จริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ลักษณะตัวย่อว่า PAPA ประกอบด้วย :red_flag:
1.ความเป็นส่วนตัว (Privacy)
2.ความถูกต้อง (Accuracy)
3.ความเป็นเจ้าของ (Property)
4.การเข้าถึงข้อมูล (Data accessibility)
การเข้าใช้งานโปรแกรมหรือระบบคอมพิวเตอร์มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน
กรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็น
ทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้
ข้อมูลควรได้
รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะนำเข้าฐานข้อมูล
สิทธิที่จะอยู่
ตามลำพังและเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุม
ข้อมูลของตนเองในการเปิดให้ผู้อื่น
สาเหตุของความขัดแย้งในจริยธรรมและศีลธรรม :red_flag:
วัฒนธรรมที่แตกต่าง
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟแวร์
การใช้งานอย่างผิดกฎหมาย
การใช้ทรัพยากรขององค์กรเพื่อประโยชน์ส่วนตัว
จริยธรรมและการศึกษา
การยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่มีจรรยาบรรณและผิดกฎหมาย
ประโยชน์ของการกำหนดจรรยาบรรณสำหรับหน่วยงาน :red_flag:
พัฒนาการตัดสินใจทางจริยธรรมให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
สนับสนุนให้เกิดมาตรฐานของการประพฤติตามจริยธรรม
เพิ่มความน่าเชื่อถือและน่านับถือจากสาธารณชน
มีการประเมินเปรียบเทียบกับมาตรฐาน
บทที่7นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สมัยใหม่
ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial :red_flag:
Intelligence: AI)ปัญญาประดิษฐ์เข้ามามีบทบาทสำคัญใน
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของมนุษย์ตัวอย่างเช่นผู้ช่วย
อัจฉริยะ (Intelligent personal assistant)
แนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์ :red_flag:
การรับรู้ (Perception)
การแทนความรู้และการให้เหตุผล
(Representation and Reasoning)
การเรียนรู้ (Learning)
การปฏิสัมพันธ์อย่างเป็นธรรมชาติ (Natural
Interaction)5. ผลกระทบทางสังคม (Social Impact) :
ตัวอย่างนวัตกรรมที่ใช้ปัญญา
ประดิษฐ์ :red_flag:
การแปลงเสียงพูดให้เป็นข้อความ (Speech
to Text)
เครื่องแปลภาษา (Machine Translation)
การระบุตัวตนด้วยใบหน้า (Facial
Identification)
รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Self-driving
Car)