Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic laboratory interpretation - Coggle Diagram
Basic laboratory interpretation
เลือด
CBC (Complete blood count)
Red blood cell count
RBC น้อยกว่าปกติ เรียก Anemia (ภาวะโลหิตจาง)
RBC มากเกินไป เรียก Polycythemia
ปกติจะมีปริมาณ 4.2 - 5.9 million cells/mm3
นอกจากจะดูจานวนแล้ว ยังดู ขนาด รูปร่างการติดสี
ของเม็ดเลือดแดง
Hematocrit
ความหนาแน่นหรือความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดง จึงเป็นตัวบ่งชี้ของการเกิดโรคโลหิตจาง
ค่าปกติ
ทารก Hct 44-64 %
เด็ก Hct 31-43 %
ผู้ใหญ่ชาย Hct 40-54 %
ผู้ใหญ่หญิง Hct 37-47 %
ค่าผิดปกติในทางน้อย
โลหิตจาง
Cirrhosis
เสียเลือด พยาธิปากขอ
โรคไต
โรคเก่ียวกับไขกระดูก เช่น lymphoma, leukemia
เซลล์ไขกระดูกมีความผิดปกติ
การต้ังครรภ์
ค่าผิดปกติในทางมาก
Congenital heart disease (โรคหัวใจแต่กำเนิด)
Polycythemia (RBC มีจำนวนมากเกินไป)
Severe dehydration (ภาวะขาดน้ำอย่างรุนแรง)
COPD (Chronic obstructive pulmonary disease)
Hemoglobin
Male 14-18 g/dl
Female 12-16 g/dl
Child 11-16 g/dl
Newborn 12-24 g/dl
White blood cell
Normal 5,000-10,000/mm3
WBC < 5,000/mm3 = Leucopenia
WBC > 10,000/mm3 = Leucocytosis
ประกอบไปด้วยเซลล์เม็ดเลือดขาว
Neutrophils 60-70%
Lymphocyte 20-25%
Eosinophils 2-4%
Basophils 0.5-1%
Monocytes 3-8%
Differential white blood cell
Granulocytes
Neutrophil หรือ Polymorphonuclear leukocytes
Neutrophil-segmented form (40-75%)
Neutrophil-band form (2-6%)
Eosinophil
ภาวะภูมิแพ้ , พยาธิ (1-6%)
Basophil
Hypersensitivity reaction (0-1%)
Agranulocytes หรือ Mononuclear leukocytes
Lymphocyte
(20-50%) Immunological reaction
Monocyte
(2-10%) Bacterial and large protozoa against เป็น second line of defense against infection)
ความผิดปกติที่พบบ่อย
Neutrophilia ร่วมกับ Leucocytosis
พบได้ในภาวะติดเชื้อแบคทีเรีย
Leucopenia ร่วมกับ Lymphocytosis
พบได้ในภาวะติดเชื้อไวรัส เช่น ไข้หวัด, ไข้เลือดออก
Eosinophilia
พบได้ในภาวะติดเชื้อปรสติ , แพ้ยา
Blast cell
พบได้ในภาวะ infiltrative disease ของไขกระดูกเช่น leukemia, metastasis, disseminated infection
Platelet
ปกติ
ผู้ใหญ่ 150,000-450,000 cell/mm3
เด็ก 200,000-473,000 cell/mm3
ทารก 140,000-300,000 cell/mm3
ค่าสูงผิดปกติ
ค่า>400,000(thrombocytosis/thrombocythemia) ระวังลิ่มเลือดในหลอดเลือด
แบบชั่วคราว : พบได้ในช่วงที่มีเลือดออก การขาดธาตุเหล็ก
การเสียเลือดการผ่าตัดม้าม การอักเสบเรื้อรัง หรืออาจเกี่ยวกับการมีมะเร็ง
แบบค่าไม่ลด : เรียก thrombocythemia บางครั้งเกิดร่วมกับ polycythemia vera, myelosclerosis
ค่าต่ำผิดปกติ
ค่า < 100,000 (thrombocytopenia) เลือดหยุดช้า(แข็งตัวช้า)
ซึ่งอาจเกิดจาก Bone marrow injury or failure, lymphoma,
vit B12 deficiency, folic acid deficiency, infection, SLE, พิษจากยา เช่น quinidine, chlorthiazides, sulfa, antihistamines
Reticulocyte
เป็นเม็ดเลือดแดงที่ไม่มี Nucleus อายุอ่อนและพึ่งถูกปล่อย ออกจากไขกระดูก (Bone marrow)
Erythrocyte sedimentation rate
อัตราความเร็วในการตกตะกอนของเม็ดเลือดแดง
Rheumatoid arthritis
Rheumatoid fever
Respiratory infections
Acute myocardial infarction
ปัสสาวะ
Blood Urea Nitrogen (BUN)
ค่าปกติ
ผู้ใหญ่ 5-20 mg/dl
เด็ก 8-18 mg/dl
ค่าสูงผิดปกติ
แต่ยังสามารถพบได้ในผู้ป่วยที่มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
ค่าต่ำผิดปกติ
สามารถพบได้ในผู้ป่วย cirrhosis
Creatinine
ค่าปกติ
เด็ก 0.3-1.2 mg/dl
ค่า Cr สูง
พบได้ใน CHF, SHOCK, การขาดโซเดียม, ท้องเสีย, เบาหวานที่ ควบคุมไม่ได้, ความผิดปกติที่ glomeruli, tubules, blood vessels ของไต
ค่า Cr ต่า
ไม่มีความสำคัญทางคลินิก
Creatinine Clearance (CrCl)
ผู้ชาย คือ 97 - 137 ml/min
CrCl ต่ากว่าปกติ
บ่งบอกถึงไตทางานได้ต่ากว่าปกติ ซึ่งอาจเกิดจากเซลล์ไตเสียหาย จาก
โรคไตเฉียบพลัน โรคไตเรื้อรัง ไตวาย ไตขาดเลือดมาเลี้ยง มีการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น นิ่วในไต หรือจากภาวะ หัวใจวาย หรือจากภาวะขาดน้ำ
Urine Analysis
Specific Gravity
ปกติ 1.001-1.035
ค่า >1.035 พบในผู้ป่วยที่ขาดน้ำ หลังได้ contrast media
Protein
ปกติต้องไม่พบ protein ในปัสสาวะ
พบได้ในผู้ที่มีการทางานของไตบกพร่อง, glomerulonephritis, เบาหวาน
Sugar
ปกติตรวจไม่พบในปัสสาวะ จะพบได้ในผู้ป่วยเบาหวาน
Nitrite
เกิดจากการสังเคราะห์ของแบคทีเรีย พบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
Blood
เป็นการตรวจ heme ในปัสสาวะ
พบในผู้ป่วยที่ มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ ผู้ป่วย hemolysis และ ผู้ป่วย rhabdomyolysis
WBC
ปกติ < 5 ตัว
พบมากกว่า 5 ตัว บ่งชี้ว่ามีการติด เชื้อในทางเดินปัสสาวะ
RBC
ปกติตรวจไม่พบ
หากพบอาจเกิดจากนิ่วในทางเดิน ปัสสาวะ, glomerulonephritis หรือ renal cell CA
อุจจาระ
Stool examination
การตรวจอุจจาระช่วยบอกถึงพยาธิสภาพ หรือความผิดปกติของ
ระบบทางเดินอาหารได้อีกด้วย เช่น การตรวจอุจจาระที่เลือดปนเปื้อน ซึ่งพบได้ ในโรค ที่เกี่ยวกับความผิดปกติของกระเพาะอาหารและลาไส้ เช่น แผลใน กระเพาะอาหาร ลาไส้อุดตัน มะเร็งกระเพาะอาหารและลำไส้ ริดสีดวงทวาร
เสมหะ
Sputum for examination
Sputum for AFB stain
Sputum for cytology
Sputum culture
น้ำไขสันหลัง
เป็นสารเหลวที่อยู่ในสมองและไขสันหลัง
มีหน้าที่ปกป้องสมองและไขสันหลังจากการบาดเจ็บ
Pressure
Blood
Cell
Glucose
Protein
Microorganism
Chloride urea
Calcium
Lactic acid
ไขกระดูก
Bone marrow smear
ดูเซลของเม็ดเลือด
Bone marrow culture
ค้นหาการติดเชื้อในไขกระดูก
Bone marrow biopsy
ค้นหาความผิดปกติของเซลเนื้อเยื่อไขกระดูก
ประเภทของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาและจุลทรรศน์ศาสตร์ (Hematology and Microscropy Laboratory)
ห้องปฏิบัติการจุลทรรศน์ศาสตร์ (Microscropy Laboratory) ปัสสาวะ/อุจจาระ
ห้องปฏิบัติการเคมีคลินิก (Clinical Chemistry Laboratory)
ห้องตรวจปฏิบัติการภูมิคุ้มกันวิทยา (Immunology Laboratory)
ห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา (Microbiology Laboratory) แบคทีเรีย/เชื้อรา
ธนาคารเลือด (Blood Bank)
ห้องปฏิบัติการนิติเวชศาสตร์หรือนิติวิทยาศาสตร์ (Forensic Science)
ห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยา (Pathology Laboratory) ชิ้นเนื้อ
คุณค่าในการวินิจฉัย (diagnostic value)
ความไว (sensitivity) คือโอกาสที่การทดสอบจะให้ ผลบวกในคนที่เป็นโรค
ความจำเพาะ (specificity) คือโอกาสที่การทดสอบจะ ให้ผลลบ ในคนที่ไม่เป็นโรค
Prevalence คืออัตราส่วน จานวนประชากรที่เป็นโรคใน เวลาหนึ่ง
ขั้นตอนการตรวจทางหอ้งปฏิบัติการ
• การเตรียมผู้ป่วยก่อนเจาะเลือด
• วิธีการเจาะเลือด/เก็บปัสสาวะ/เสมหะ/ไขกระดูก/สารขับหลั่ง
• การใช้ภาชนะที่ใส่สิ่งตรวจ ต้องเหมาะสมกับการเก็บสิ่งส่ง ตรวจแต่ละชนิด