Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ - Coggle Diagram
การจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
แนวคิดทางด้านการจัดการในงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ปัจจัยทางด้านการเมืองทั้งภายในและนอกประเทศ
ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้านสังคม รวมไปถึงปัจเจกบุคคล และความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคม
ประเภทของการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การจัดบริการตามกฎหมาย หมายถึง การจัดบริการหรือสวัสดิการตามที่กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องดำเนินการจัดหาให้กับลูกจ้าง
การจัดบริการนอกเหนือที่กฎหมายกำหนด หมายถึง สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ หรือการบริการที่นายจ้างจัดให้เป็นสวัสดิการที่อยู่นอกเหนือจากข้อกำหนดของกฎหมาย
การจัดสวัสดิการในสถานประกอบการตามกฎหมายไทย
การจัดบริการห้องน้ำและห้องส้วม
การจัดบริการด้านการปฐมพยาบาลและการรักษาพยาบาล
การจัดบริการน้ำดื่มสะอาด
หลักการจัดบริการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ
การนำไปปฏิบัติ(Implementation)
กำหนดผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน
กำหนดระยะเวลาในการปฏิบัติงานและเวลาที่แล้วเสร็จ
จัดสรรทรัพยากรอย่างพอเพียงด้านงบประมาณ บุคลากร เวลา และทรัพยากรอื่น ๆ
การประเมิน (Evaluation)
กำหนดผู้ที่ทำการประเมิน
กำหนดผู้ที่ทำการประเมิน
กำหนดหัวข้อหรือตัวชี้วัดในการประเมิน เช่น เป้าหมายในการด าเนินงาน หรือ KPI
กำหนดระยะเวลาที่ทำการประเมิน
สรุปผลการประเมิน เพื่อนำไปสู่การปรับปรุง
การวางแผน (Planning)
การทบทวนสถานะเริ่มต้น
การบ่งชี้อันตรายและประเมินความเสี่ยง
การบริหารจัดการความเสี่ยง
การดำเนินการปรับปรุง (Evaluation)
การจัดการ (Organizing)
การตรวจสอบ (Improvement)
กำหนดผู้ที่ทำการตรวจสอบ
กำหนดองค์ประกอบที่จะทำการตรวจสอบ
การกำหนดระยะเวลาในการตรวจสอบ ต้องดำเนินการเป็นระยะและต่อเนื่อง
นโยบาย (Policy)
มีความเฉพาะเจาะจง เหมาะสมกับขนาด และลักษณะกิจกรรมของสถานประกอบการ
มีการสื่อสารให้ทุกคนในสถานประกอบการทราบ
ลงวันที่ และลงนามหรือประทับตรารับรองโดยผู้บริหารสูงสุด
ได้รับการทบทวนเพื่อความเหมาะสมอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดความทันสมัยและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
ต้องจัดทำเป็นลายลักษณ์อักษร และใช้ภาษาที่ชัดเจนเข้าใจง่าย
มีไว้พร้อมให้บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องตรวจสอบตามความเหมาะสม
การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)
ตัวอย่างกิจกรรมการจัดบริการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการตรวจความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมการควบคุมอันตรายจากการทำงาน
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการเตรียมความพร้อมสำหรับเหตุฉุกเฉิน
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมการประชุมด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 8 กิจกรรมความปลอดภัยนอกงาน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย
กิจกรรมที่ 9 กิจกรรมด้านความปลอดภัยอื่น ๆ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมการจัดทำเอกสารส่งทางราชการ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการด้านอาชีวอนามัยและควาปลอดภัย
พนักงานเกิดความจงรักภักดีกับองค์กร ไม่เปลี่ยนงานหรือย้ายงานบ่อย
แสดงถึงความห่วงใย จรรยาบรรณ และความรับผิดชอบของนายจ้างที่มีต่อลูกจ้าง
ได้พนักงานที่มีคุณภาพเนื่องจากสามารถใช้สวัสดิการเป็นแรงจูงใจ
ทำให้เกิดความปลอดภัยแก่พนักงานในสถานประกอบการ
เป็นการจูงใจพนักงานให้ปฏิบัติงานด้วยความรัก และเต็มใจในการปฏิบัติงาน
ลดค่าใช้จ่ายที่เกิดจากอุบัติเหตุและโรคจาการทำงาน
เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของสถานประกอบการ
ลดการกีดกันทางการค้า และสามารถขายสินค้าได้ในระดับสากล