Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการ…
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจที่มีผลต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ด้านการเมืองการปกครอง
บทบาทของการเมือง
อิทธิพลของการเมืองที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงทางการบิรหาร
และการปกครอง
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวคิดการมืองการปกครอง
ด้านวัฒนธรรม
การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
อิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
การประดิษฐ์คิดค้น
การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
ระบบของความคิด
เทคโนโลยี
ด้านเศรษฐกิจ
แนวคิดด้านเศรษฐกิจกับการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
เศรษฐกิจของชนชั้น
เศษรฐกิจของสังคมส่วนรวม
เศรษฐกิจส่วนบุคคล
อิทธิพลของเศรษฐกิจที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
องค์การ
การกำหนดนโยบาย
ปัจเจกบุคคลและครอบครัว
ระบบการผลิต
กลุ่มของสังคม
ด้านประชากร
ความสำคัญของประชากร
อิทธิพลของประชาการที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม
ขนาดของประชากร
โครงสร้างของประชากร
ลักษณะบุคลิกภาพของบุคคล
การขยายตัวของประชากร
การย้ายถิ่น
การขัดเกลาทางสังคม
การเกิด
การตาย
แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงจากสังคมเกษตรกรรม
ไปสู่สังคมอุคสาหกรรม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบเส้นตรง
เลวิส มัมฟอร์ด 4 ยุค
ยุคเทคนิคเก่า
ยุคเทคนิคใหม่
ยุคเทคนิคสมัยเริ่มแรก
ยุคเทคนิคชีวภาพ
วอลท์ รอสโตวส์ 5 ขั้นตอน
ระยะเริ่มพัฒนา
ระยะเข้าสู่การพัฒนา
ระยะการบริโภค
ระยะเตรียมการก่อนพัฒนา
ระยะสังคมดั้งเดิม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมแบบวัฏจักร
กฎการเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
แต่ละรูปมีลักษณะเป็นวัฏจักรตามธรรมชาติ
การเปลี่ยนแปลงเป็นไปตามวงจรชีวิต
หรือช่วงเวลาของหน้าที่
วัฒนธรรมทุกรูปแบบมีกฎของการ
เปลี่ยนแปลงในสังคมแต่ละกลุ่ม
เมื่อวัฏจักรของวัฒนธรรมที่ 1 และที่ 2 รวมเข้าด้วยกันและเกิดภาวะสมบูรณ์ของกลุ่มหรือของชาติรูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมประกอบด้วย 2 มิติ
คือ จุดเริ่มต้นและจุดสูงสุด
ปรากฎการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และที่มาของปรากฏการณ์
การปฏิสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม
การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม
การพัฒนาเป็นเมือง
การพัฒนาให้เป็นสมัยใหม่
การวิวัฒนาการและการปฏิวัติ
ความหมาย องค์ประกอบและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
องค์ประกอบของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทย สังคมโลก
ที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมไทยที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านทรัพยากรมนุษย์
คุณภาพ
จำนวนและประเภท
ด้านการจัดการบริหารปกครอง
ลักษณะสำคัญของการจัดการบริหารปกครอง
ในปัจจุบันและอนาคต
การลดอำนาจของรัฐจากส่วนกลาง
และเพิ่มอำนาจองค์การส่วนท้องถิ่น
การเรียกร้องความโปร่งใสและภาระรับผิดชอบ
ในการปฏิบัติงานของภาคราชการ
การเพิ่มอำนาจการปกครองพด้วยการมีส่วนร่วม
โดยตรงของประชาชน
การควบคุมและถ่วงดุลอำนาจของรัฐด้วยองค์กรอิสระ
การให้สิทธิเสรีภาพอย่างกว้างขวาง
การติดตามและตรวจสอบการใช้อำนาจ
บริหารปกครองด้วยองค์กรเอกชน
วิวัฒนาการของการบริหารปกครองแบบประชาธิปไตย
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
เปลี่ยนแปลงจากการนำมาใช้ประโยชน์
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมด้วยเทคโนโลยี
ระบบความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
ทางสังคม
ความสัมพันธ์ระหว่างชนบทกับเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ใหญ่
กับกลุ่มชาติพันธุ์ย่อย
ทางวัฒนธรรม
วัฒธรรมประเพณีกับวัฒนธรรมสมัยใหม่
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กรอบแนวคิด
ปัจจัยของความเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกหลัง ค.ศ. 2000
แนวทางการศึกษาสภาพสังคมโลกหลัง
ค.ศ. 2000
สัจนิยม
ทฤษฎีระบบ
อุดมคตินิยม
เศรษฐศาสตร์การเมือง
ความเป็นมาของสังคมโลก และปัจจัยของสภาพ
ความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหลังล ค.ศ. 2000
สภาพความเปลี่ยนแปลง
ของสังคมโลกกับการเกษตรกรรม
ความชำนาญเฉพาะด้าน
การส้างความประสานสอดคล้อง
การรวมจุดเน้น
การสร้างคุณค่าและประโยชน์สูงสุด
การกำหนดมาตรฐาน
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในสังคมโลก
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับโลก
ที่มีรัฐเป็นสมาชิก
ธนาคารโลก
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
องค์การสหประชาชาติ
องค์การการค้าโลก
นอกเหนือจากรัฐ
องค์การและกลุ่มความร่วมมือระดับโลก
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
องค์การพัฒนาเอกชน
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาค
กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ
กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
เอเชีย-แปซิฟิก หรือเอเปก
สหภาพยุโรป
เขตการค้าเสรีอาเซียน
รัฐ
ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ด้านเกษตรกรรม
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภูมิภาค
ที่สำคัญได้แก่กลุ่มบุคคลอื่นที่ไม่เป็นเจ้าหน้าที่ภาครัฐในองค์การระหว่างประเทศในระดับภูมิภาค
เช่น บรรษัทข้ามชาติ และองค์การพัฒนาเอกชน
องค์การและกลุ่มความร่วมมือในระดับภายในรัฐ
กลุ่มบุคคล องค์การประชาชน และขบวนการสังคม
องค์การพัฒนาเอกชน
บุคคลหรือปัจเจกบุคคล
บรรษัทข้ามชาติ
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกหสัง ค.ศ. 2000
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทางการเมือง
และความมั่นคง
สภาพของสังคมโลกทางด้านการเมือง
สภาพของสังคมโลกทางด้านความมั่นคง
ทางด้านเศรษฐกิจ
การค้าระหว่างประเทศ
การบริการระหว่างประเทศ
การปฏิรูประบบเศรษฐกิจของประเทศต่าง ๆ ในโลก
การลงทุนระหว่างประเทศ
การเงินระหว่างประเทศ
ด้านสังคม
ระดับบุคคล ปัจเจกบุคคล
และประชากร
ระดับรัฐ สังคม และประเทศ
ระดับโลก
ด้านประชากร
ด้านเทคโนโลยี
ด้านอาหาร
ด้านสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ปัจจัยทางสังคม
สังคมไทยก่อนยุคฟองสบู่แตก
สังคมไทยหลังลัยุคฟองสบู่แตก พ.ศ.2540
สังคมไทยยุคปัจจุบัน
ปัจจัยทางธุรกิจและการค้า
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากเทคโนโลยีใหม่
ความได้เปรียบอันมีผลมาจากตลาด
ความได้เปรียบอันเป็นผลมาจากกระบวนการ
ปัจจัยทางการเมือง
การเมืองระดับประเทศ
การเมืองระดับท้องถิ่น
ปัจจัยทางเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยทางเทคโนโลยี
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ความหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจ
ดั้งเดิม 1950-1960
ความสามารถของประเทศในการสร้าง
หรือรักษาอัตราการเติบโตของเศรษฐกิจมุ่งเน้น GDP
สมัยใหม่หลัง 1960 ถึงปัจจุบัน
ดูปัจจัยอื่น ๆ ประกอบกับ GDP
เช่น คุณภาพชีวิตที่ดีของประชากร
ความสำคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ
เป็นหนทางในการที่จะที่ทำให้ประเทศสามารถ
พึ่งพาตนเองได้
ก่อให้เห้กิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกันของประเทศต่าง ๆ
ช่วยปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานการครองชีพ
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศที่พัฒนา
ประเทศพัฒนา : มีการพัฒนาระดับสูงเมื่อวัดด้วยมาตรฐานบางประการแต่จัดกลุ่มประเทศพัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนานั้น
เพื่อประโยชน์ในทางสถิติและไม่จำเป็นที่จะมาใช้ในการ
ตัดสินใจสถานะของประเทศหรือของเขตในกระบวนการพัฒนา
การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนา
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประเทศกำลังพัฒนาหลังทศวรรษ 1960 มีด้วยกัน 4 ด้าน
คือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิต การเปลี่ยนแปลง
การค้าระหว่างประเทศ การพัฒนาความด้อยพัฒนา
การเกิดประเทศอุตสาหกรรมใหม่
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย และเศรษฐกิจโลกที่มีผลกระทบต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทยที่มีผลกระทบ
ต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลต่อการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรก่อนมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยสุโขทัย
สมัยรัตนโกสินทร์จนถึงก่อนที่จะที่มี
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยภายหลัง
มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 1-7
การพัฒนาการเกษตรในแผนฯ 8-12
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจกับผลกระทบ
ต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผลมีต่อ
รูปแบบการผลิตทางการเกษตร
การผลิตเพื่อยังชีพ
การผลิตเพื่อขายภายในประเทศ
การผลิตเพื่อการธุรกิจและเพื่อการส่งออก
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทยที่มีผล
ต่อรูปแบบการส่งเสริมการเกษตร
ระยะก่อนมีกรมส่งเสริมการเกษตร
นอกจากหน่วยงานต่าง ๆ ในกระทรวงเกษตรการส่งเสริมการเกษตรจะกระจัดกระจายอยู่ในหลายกระทรวง
ระยะที่มีกรมส่งเสริมการเกษตร
ช่วงระหว่าง พ.ศ.2509-2529
ช่วงระหว่าง พ.ศ.2530-2535
หลังจากปี พ.ศ.2535
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ
ต่อโครงสร้างการเกษตร
เนื้อที่ถือครองลดลงต่อครัวเรือน
ประเภทการผลิตเริ่มเปลี่ยนไปโดยมีการเน้นเป็นชนิด
ของสินสิค้าเกษตรที่มีความต้องการของตลาด
ประชากรภาคเกษตรลดลง
ประชาชนเริ่มเห็นความสำคัญของการเกษตรเพิ่มมากขึ้น
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจไทย
และการบริการงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของไทย
ภาคเกษตรในอนาคต
ควรเน้น 6 เรื่อง
การลดต้นทุนการผลิต
การพัฒนาคุณภาพของสินค้า
การวิจัยพัฒนาให้ได้พันธุ์ใหม่
การเพิ่มมูลค่าของสินค้าการเกษตร
การปรับตัวเพื่อให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่ง
ได้โดยเน้นคุณภาพสินค้า
การวางแผนและการจัดความสมดุลระหว่าง
การผลิตพืชอาหารและพืชพลังงาน
การบริหารงานส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรในอนาคต
ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สิ่งที่พิจารณาอยู่เสมอ 9 ข้อ
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของโลกที่มีผลกระทบ
ต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างสมดุลระหว่างมหาอำนาจเก่าและมหาอำนาจใหม่
การบริหารความเสี่ยงจากความซับซ้อนของเศรษฐกิจโลก
การแสวงหาโอกาสทางเศรษฐกิจเกิดใหม่
การกีดกันทางการค้าและการให้การช่วยเหลือโดยรัฐ
การแข่งขันที่รุนแรงจากเศรษฐกิจเกิดใหม่
การรักษาความมั่นคงและยั่งยืนของการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ