Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 9 ปี, อธิบาย ให้ผู้ปกครองทราบถึงโรคที่เป็นอยู่ -…
ผู้ป่วยเพศหญิง อายุ 9 ปี
ภาวะสุขภาพ
Beta thalassemia
-
-
บุคคลที่มี trait ทาลัสซีเมียไม่จำเป็นต้องรักษา ไม่ต้องสอดส่อง ปกติจะไม่ขาดธาตุเหล็ก การเสริมธาตุเหล็กจะไม่ช่วยภาวะเลือดจางของบุคคลนี้ และ ดังนั้น จึงไม่ควรทานธาตุเหล็กเสริมยกเว้นถ้าขาดธาตุเหล็ก
แม้คนที่มีภาวะระดับนี้ไม่จำเป็นต้องถ่ายเลือด แต่ก็ยังเสี่ยงต่อภาวะเหล็กเกิน (iron overload) โดยเฉพาะที่ตับ การเช็ค ferritin ที่บอกระดับเหล็กในเลือดสามารถบ่งชี้การรักษาอื่น ๆ ต่อไปได้ แม้ว่าจะไม่เสี่ยงชีวิต โรคอาจมีผลต่อคุณภาพชีวิตเนื่องจากภาวะโลหิตจาง คนมีภาวะในระดับนี้บ่อยครั้งมีโรค/อาการอื่น ๆ พร้อมกันไปด้วยเช่น โรคหืด และสามารถเป็นเหตุต่อภาวะเหล็กเกินในตับ โดยเฉพาะในบุคคลที่ตับคั่งไขมัน (non-alcoholic fatty liver disease) ซึ่งอาจนำไปสู่ผลที่รุนแรง
Acute rheumatic fever
-
โรคไข้รูมาติกเป็นเกิดจากอาการอักเสบที่เป็นผลมาจากการติดเชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัส การติดเชื้อแบคทีเรียนี้มักทำให้เกิดอาการคออักเสบและอาจนำไปสู่อาการที่รุนแรงขึ้น ซึ่งรวมถึงความเสียหายถาวรต่อหัวใจและลิ้นหัวใจ โดยอาจรุนแรงจนนำไปสู่ภาะหัวใจล้มเหลวได้ ไข้รูมาติกสามารถเกิดขึ้นได้ในทุกช่วงอายุ แต่ส่วนใหญ่จะส่งผลกระทบต่อเด็กที่มีอายุระหว่าง 5 ถึง 15 ปี การรักษาไข้รูมาติกมีจุดมุ่งหมายเพื่อลดความเสียหายจากการอักเสบ บรรเทาอาการปวด และอาการอื่น ๆ รวมทั้งป้องกันการกลับเป็นซ้ำของโรค
ข้อวินิทางการพยาบาล : เสี่ยงต่อปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลงเนื่องจากความสามารถในการบีบตัวของหัวใจลดลง
-
กิจกรรมทางการพยาบาล
- ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงเพื่อสังเกตอาการที่เปลี่ยนแปลงบ่งบอกถึงการกรรมเริ่มของเลื่อนของหัวใจและปอดลดลง
- จัดท่านอนศีรษะสูงเพื่อลดปริมาณเลือดที่ไหลกลับสู่หัวใจลดการทำงานของหัวใจและทำให้หายใจได้สะดวกมากขึ้น
- แนะนำงดการออกแรงทันทีทันใดเช่นแนะนำงดการออกแรงทันทีทันใดเช่นการเบ่งถ่าย ใช้ Bedside commode ดูแลให้ยาระบาย
- ระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจเฝ้าระวังการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ
- ดูแลให้พักผ่อนบนเตียงและกิจกรรมต่างๆเพื่อลดความต้องการใช้ออกซิเจนของกล้ามเนื้อ
- ดูแลให้ออกซิเจนเพื่อเพิ่มความเข้มข้นของออกซิเจนในเลือดและลดการทำงานของหัวใจ
เป้าประสงค์ทางการพยาบาล
เพื่อไม่เกิดการบีบตัวของหัวใจลดลง
เกณฑ์การประเมิน
- ไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจนในร่างกาย ได้แก่หายใจลำบาก ปีกจมูกบาน ผิวหนังปลายมือปลายเท้าสีเขียวคล้ำไม่มีเสมหะหายใจเร็วอกไม่บุ๋ม
- สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ ดังนี้
T = 36.8 องศาเซลเซียส
BP = 97/60 mmHg
PR = 100 ครั้ง/นาที
RR = 24 ครั้ง/นาที
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
มีไข้ เหนื่อย รู้สึกอ่อนเพลีย ใจสั่น 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
- ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
5 วันก่อนมาโรงพยาบาล ไปฉีด vaccine pfizer dose 2 หลังกลับบ้านไปช่วงบ่ายๆ มีไข้ ตัวรุมๆ รู้สึกอ่อนเพลีย ใจสั่น
1 วันก่อนมาตรวจ โรงพยาบาลแหลมฉบัง เหนื่อยหอบ เพลีย มีใจสั่น
- ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
- ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ไม่มีประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
- ประวัติการได้อาหาร
อาหารธรรมดา
-
-
อ้างอิง
บุญเพียร จันทวัฒนาและคณะ. (2552). ตำราการพยาบาลเด็กเล่ม1-2. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพ : ภาค วิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลับมหิดล.
ณัชนันท์ ชีวานนท์ และ พจนารถ สารพัด. (2563). บทที่6 การตรวจร่างกายทารก เด็ก และวัยรุ่น : เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 10820159การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะสุขภาพปกติ.
คณาจารย์สาขาวิชาการพยาบาลเด็ก. (2565). การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะสุขภาพเบี่ยงเบน (Nursing Care for Children and Adolescents in Heath Deviation). คณะพยาบาลศาสตร์ ชลบุรี : มหาวิทยาลัยบูรพา
วางแผนจำหน่าย
-
Acute rheumatoid fever เป็เป็นค่ายที่พบได้บ่อยในเด็กอายุห้าถึง 15 ปีและควรปล่อยทิ้งไว้เพราะอาจเป็นอันตรายต่อหัวใจในระยะยาวและอาจเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้และมีการอักเสบ อวัยวะต่างๆในร่างกายเนื่องจากการติดเชื้อแบคทีเรียสเตปโตค็อกคัส A ที่รักษาไม่หายขาดโดยเฉพาะอาการของซีสหรือไข้อีดำอีแดงที่ไม่ได้รับการรักษาสมบูรณ์ให้ผู้ป่วยมีไข้ปวดข้อต่อกระดูกปวดกล้ามเนื้อ
M-Medicine :
อธิบายให้ผู้ปกครองทราบถึงการดูแลให้ยาทารกอย่างถูกต้อง แนะนำมารดาว่าไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
ห้ามใช้ยาบางชนิด เช่นยาปฏิชีวนะ เอสไพริน ยารักษามาลาเรีย ยากันชัก เพื่อลด ปัจจัยการกระตุ้นทำให้เม็ดเลือดแดงแตก ควรปรึกษาแพทย์ ให้ทราบถึงขนาดใหญ่ที่ทารกควรได้รับ และผลข้างเคียงภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา
E-Evironment :
เวลากลับบ้านสิ่งที่ควรระมัดระวังคืออุบัติเหตุเนื่องจากเด็กยังไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้เต็มที่ จากภาวะซีด ให้เด็กนอนอยู่ ควรอยู่ในบริเวณที่สะอาดไม่มีฝุ่น และ ระมัดระวังการพลัดตกจากที่สูงแนะนำให้บรรดาดูแลจากสถานที่ให้เอื้ออำนวยต่อการเกิดอุบัติเหตุ
T-Tretment :
ให้ความรู้และฝึกทักษะมารดาในการดูแลเพื่อกลับไปดูแลที่บ้าน แนะนำให้มารดาดูแลเรื่องการเกิดอุบัติเหตุ รับประทานยา
O-Out patient :
แนะนำบรรดาเรื่องวัคซีนที่ควรได้รับตามวัย และพัฒนาการของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้ แนะนำให้ผู้ปกครองพาเด็ก มาตรวจหรือติดต่อขอความช่วยเหลือจากสถานพยาบาลใกล้บ้าน ในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน
D-Diet :
หากพบว่าเด็กมีอาการคออักเสบหรือไข้อีดำอีแดง ควรพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัย โดยผู้ป่วยมักจะมีอาการเจ็บคอ มีไข้สูงกว่า 38 องศาเซลเซียส ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอบวมและมีขนาดใหญ่ มีจุดสีแดงขึ้นบริเวณเพดานปาก และปวดหัว ซึ่งการรักษาอย่างทันท่วงทีจะช่วงป้องกันการเกิด Rheumatic Fever ได้
นอกจากนี้ การรักษาสุขอนามัยที่ดีด้วยการปิดปากขณะไอหรือจาม ล้างมืออย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้หรือใช้ของร่วมกับผู้ที่มีอาการป่วย เป็นอีกทางที่ช่วยป้องกันการเกิดอาการคออักเสบซึ่งเป็นต้นเหตุของ Rheumatic Fever ได้เช่นกัน
-