Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พิษวิทยากับงานอาชีวอนามัย - Coggle Diagram
พิษวิทยากับงานอาชีวอนามัย
ความหมายและความสำคัญของพิษวิทยากับงานอาชีวอนามัย
ความหมายที่เกี่ยวข้องกับพิษวิทยากับงานอาชีวอนามัย
พิษวิทยา
การรับสัมผัส (Exposure)
การรับสาร (Intake หรือ Uptake)
ขนาดสัมผัส (Dose)
การประเมินการสัมผัส
การประเมินความเสี่ยง
การควบคุมการสัมผัส
ความสำคัญของพิษวิทยากับงานอาชีวอนามัย
ด้านสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและการควบคุมโรค
ด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหามลพิษมีผลกระทบต่อสัตว์และพืช
ด้านอุตสาหกรรม สารเคมีที่น ามาใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ
ด้านการควบคุมความปลอดภัย การใช้สารเคมีต่าง ๆ
ด้านเกษตรกรรม สารเคมีที่น ามาใช้ในการป้องกันและก าจัดศัตรูพืช
หลักการทางพิษวิทยา และกระบวนการพิษจลนศาสตร์กับงานอาชีวอนามัย
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมีโดยทั่วไปสารเคมีสามารถเข้าสู่ร่างกายมนุษย์ได้ 3 ทาง
ทางการหายใจ (Inhalation) ผู้ประกอบอาชีพมีโอกาสได้รับสารเคมีเข้าสู่
ร่างกายทางการหายใจมากที่สุด
ทางผิวหนัง (Skin absorption) สารเคมีอาจซึมเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง
ทางการกิน (Ingestion) ผู้ประกอบอาชีพต่าง ๆ มีโอกาสได้รับสารเคมีเข้าสู่
ร่างกายโดยการกินค่อนข้างน้อย
กระบวนการพิษจลนศาสตร์กับงานอาชีวอนามัย
กระบวนการทางด้านพิษจลนศาสตร์
อันดับแรกคือ กระบวนการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย (Absorption) การได้รับสัมผัส (Exposure)
สารพิษในสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ร่างกายนั้น มีช่องทาง (Route of exposure) หลักๆ อยู่ 3 ช่องทาง ข้างต้น คือ ทางการกินเข้าสู่ทางเดินอาหาร (Ingestion) ทางการสูดหายใจเข้าสู่ทางเดินหายใจ
(Inhalation) และทางการดูดซึมเข้าสู่ผิวหนัง (Skin absorption)
ปฏิกิริยาจากสารพิษหลายชนิด การเกิดพิษในร่างกาย และกลไกการเกิดพิษ
ปฏิกิริยาจากสารพิษหลายชนิด
การเกิดพิษในร่างกาย
กลไกการเกิดพิษ
การประยุกต์หลักการทางพิษวิทยาไปใช้ในงานอาชีวอนามัย
การตรวจวัดทางชีวภาพ
การตรวจวัดทางสิ่งแวดล้อม
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ
การประเมินความเสี่ยงเชิงคุณภาพ (Qualitative Risk Assessment)
การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณ Quantitative Risk Assessment