Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
แนวความคิดเกี่ยวกับเรื่องเพศของผู้สูงวัย
เรื่องเพศของผู้สูงวัยเป็นเรื่องต้องห้าม
เชื่อว่าผู้สูงวัยไม่มีเพศสัมพันธ์แล้ว
บทบาททางเพศของผู้สูงวัยเป็นสิ่งที่ถูกกำหนดโดยสังคม
สุขภาพกายมีผลต่อกิจกรรมทางเพศ
ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงออกด้านเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
เพศชาย
Testosterone และ Androgen ลดลง
จำนวนสเปิร์ม ลดลง 48-69%
ขนาดต่อมลูกหมากโตขึ้น
การผลิต Seminal fluid ลดลง ทั้งปริมาณ และความหนืด
การตอบสนองต่อการกระตุ้นทางเพศที่ช้าลง
(Excitement phase) ใช้เวลานานขึ้น
Erectionใช้เวลานาน และช่วง Orgasm สั้น
1 more item...
เพศหญิง
Menopause
Progesterone และ Estrogen ลดลง
มีการฝ่อของเนื้อเยื่อพยุง และเนื้อไขมัน ทำให้หน้าอกหย่อน
Dyspareunia
อาการเจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
Factors related to Dyspareunia
Vaginal muscle spasm
Pruritus vulvae
Atrophic vaginitis
Yeast infection
รังไข่ฝ่อ หนาตัว ขนาดเล็กลง
เนื้อเยื่อของช่องคลอดหดตัว มีการตีบของ Introitus เนื้อเยื่อสูญเสียความยืดหยุ่น
ช่องคลอดฝ่อ บาง และมีน้ำเมือกลดลง มีฤทธิ์เป็นด่าง ทำให้ช่องคลอดแห้ง
มดลูกหดตัวเล็กลง ปากมดลูกฝ่อ การสร้างเมือกเพื่อช่วยในการหล่อลื่นเสียไป
การหมดประจำเดือน
กับ
การเปลี่ยนแปลงทางเพศสัมพันธ
การตอบสนองทางเพศลดลง
เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์
รู้สึกอยาก หรือต้องการ
ทางเพศลดลง
กิจกรรมทางเพศลดลง
มีปัญหาทางเพศสัมพันธ์กับคู่ครอง
การเปลี่ยนแปลงด้านจิตสังคม
ความวิตกกังวลและกลัวการสูญเสีย
เพื่อน คู่ครอง และสมาชิกในครอบครัว
บทบาท และความรับผิดชอบทางสังคม
ความสามารถและความแข็งแรงของร่างกาย
ภาพลักษณ์
ทัศนคติต่อการแสดงออกทางเพศสัมพันธ์
สังคมอภิปรายเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุในลักษณะตลกขบขัน
ทัศนคติทางด้านลบจากสังคม
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่ควรมีความสนใจในเรื่องเพศ
ผู้สูงอายุชายที่ยังสนใจเรื่องเพศจะถูกตราหน้าว่าเป็น dirty old man หรือ เฒ่าหัวงู
ไม่สามารถแสดงกิจกรรมทางเพศต่อไปได้ เนื่องจากรูปร่างไม่เป็นที่ดึงดูดใจ ทำให้เสียความต้องการทางเพศ
ผู้สูงอายุรู้สึกอาย โดยเฉพาะกับผู้ที่อ่อนวัยกว่า
ความเจ็บป่วย และการใช้ยา
ได้รับการผ่าตัดมดลูก-รังไข่ในเพศหญิง
ได้รับการผ่าตัดต่อมลูกหมากในเพศชาย
มีโรคประจำตัว
เช่น Arthritis, Chronic pain, Dementia, Diabetes, Heart disease, Incontinence, Stroke, Depression, Surgery โรคระบบทางเดินหายใจ โรคอ้วน
สูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
การได้รับยา
เช่น Antihypertensives, Dopamine agonists, Diuretics, Anticholinergics, sedative-hypnotics, Anti-depressants, Antianxiety, Anticonvulsant
บทบาทพยาบาล
ประเมินปัญหา
ประเมินสภาวะทางจิตใจ เช่น แบบประเมินภาวะซึมเศร้า
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ระบบนรีเวช
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ระดับฮอร์โมนต่างๆ
เจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และอาการ เช่น เบาหวาน หัวใจ พาร์กินสัน ข้ออักเสบ
การใช้ยาต่างๆ
พฤติกรรมการดื่มสุรา สูบบุหรี่
ความคิด ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้สูงอายุ
สภาพแวดล้อม ที่อยู่อาศัย เช่น การอยู่รวมกันในสถานพยาบาล
ผู้ให้คำปรึกษาและคำแนะนำ
แนะนำให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายด้วยการเดิน และยืดกล้ามเนื้อ อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3 วัน
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ประมาณวันละ 1,600 กิโลแคลอรี่ต่อวัน ดื่มน้ำไม่ต่ำกว่า 1,500 ซีซีต่อวัน
พักผ่อนให้เพียงพอ
จัดการความเครียดให้เหมาะสม จัดการภาวะซึมเศร้า
แนะนำการสร้างแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน เช่น การโอบกอด อาบน้ำด้วยกัน นวด สร้างจินตนาการเพื่อกระตุ้นความรู้สึก
การได้รับฮอร์โมนทดแทน
ดูแลสุขภาพอานามัย สุขภาพฟัน การแต่งกายที่ดี
ไม่กลั้นปัสสาวะ ขับถ่ายปัสสาวะก่อน-หลังมีเพศสัมพันธ์
กิจกรรมทางเพศ ควรมีตอนเช้าหลังพักผ่อนมาตลอดคืน
ควรมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย เช่น ป้องกันการติดเชื้อ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ให้ความรู้เรื่องอาการข้างเคียงของยาที่ส่งผลต่อสุขภาพทางเพศ
สำหรับผู้สูงอายุหญิง
แนะนำเรื่องการใช้ครีมหล่อลื่น
ฝึกทำ Kegel’s exercise
รับประทานอาหารที่เพิ่มฮอร์โมนเอสโตรเจน เช่น ถั่ว ข้าวโพด อินทผลัม ข้าวสาลี
มีเพศสัมพันธ์อย่างสม่ำเสมอ
สำหรับผู้สูงอายุชาย
รับประทานอาหารที่ช่วยเพิ่มการแข็งตัว
กระตุ้นโดยตรงที่อวัยวะเพศโดยไม่ใช้
ถุงยางอนามัย
การใช้ฮอร์โมนทดแทน
เพิ่มเวลาการเล้าโลมเพศหญิงให้นานพอ