Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความหมาย
การลดการช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
จนสามารถเลิกใช้เครื่องช่วยหายใจได้
ขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินความพร้อมในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความสามารถในการหายใจของผู้ป่วย
คํานวณได้จากอัตราการหายใจครั้ง/นาที
หารด้วยค่า STV หน่วยเป็นลิตร
Rapid shallow breathing index หรือ
Rate Volume Ratio(RVR) <105
จึงจะมีโอกาสเอาเครื่องช่วยหายใจออกได้
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี และสามารถทำตามคำสั่งได้ สามารถไอได้ดี
โรค/สาเหตุของการใส่เครื่องช่วยหายใจหายหรือทุเลาลง
ค่า PaO2>60 mm.Hg, FiO2 < 0.4
ค่า PEEP < 5 cmH2O
V/S stable T<38 C, HR<100 T/min, RR<30 T/min,
SBP 90-160mmHg.
ใช้ยาระงับประสาทเพียงเล็กน้อย หรือไม่ใช้เลย
ไม่ใช้ยากระตุ้นหัวใจหรือหลอดเลือด
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจที่นิยมทำ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจด้วยการใช้เครื่องช่วยหายใจ
โดยการปรับSettig mode SIMV , PSV , CPAP
CPAP
โดยเครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอด
ตลอดเวลาค่อยๆลดแรงดันจากเครื่อง
SIMV
ใช้สำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจมานาน และใช้แบบ T piece ไม่ได้ผลโดยวิธีนี้จะค่อยๆ ลดการช่วยเหลือจากเครื่องให้ต่ำกว่าการหายใจของผู้ป่วย หลังจากลดการช่วยได้ < 5 ครั้ง/นาที เป็นเวลา 1-2 hr. ถ้าผู้ป่วยอยู่ได้ไม่มีอาการหายใจเหนื่อยก็พิจารณาการถอดเครื่องช่วยหายใจได้
PSV
ลดระดับความดันครั้งละ 2-4 cmH2O q 1-2 hr เมื่อลดจนระดับความดันน้อยกว่าหรือเท่ากับ 5-7 cmH2O ได้นาน 1-2 hr ก็สามารถพิจารณาถอดเครื่องช่วยหายใจได้
โหมดนี้มีข้อดีคือช่วยลดแรงในการหายใจลงได้
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece
หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพัก
หมายเหตุ
Pt CHF COPD ไม่สามารถใช้วิธีนี้ได้ เนื่องจากการหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจทันทีจะทำให้เกิด Respiratory acidosis
วิธีการ
วิธีที่ 1
ให้ Pt หายใจผ่าน T Piece ที่ต่อกับ collugated tube O2 10 LPM ใช้เวลา 30 นาที -2 hr หากผู้ป่วยไม่มีข้อบ่งชี้ในการใช้ เครื่องช่วยหายใจต่อ v/s ปกติสามารถถอดเครื่องช่วยหายใจได้
วิธีที่ 2
ให้ผู้ป่วยหายใจผ่าน T Piece 15 - 30 นาที แล้วต่อเครื่องได้พักอย่างน้อย 1 hr และทำอย่างน้อย 2 รอบ/วัน เพิ่มเวลาให้ผู้ป่วยหายใจเองนานขึ้นในแต่ละรอบจนกระทั่งผู้ป่วยหายใจเองนาน 1-2 hr ก็พิจารณาถอดท่อช่วยหายใจได้
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
วิธีการ
เริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้าเตรยีมผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ควร NPO อย่างน้อย 6 hr
อธิบายให้ผู้ป่วยคร่าวๆ เพื่อลดความกลัว
ใหผู้ป่วยร่วมมือและให้กำลังใจผู้ป่วย
จัดท่า High fowler position และ Suction clear air way
เริ่มทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อประเมินสภาพผู้ป่วยว่าพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจโดยวิธี T piece / วิธีการปรับ mode ยึดตามแนวทางการหย่าเครื่องช่วยหายใจของแต่ละ รพ. ตามแผนการรักษา
V/S + O2sat ก่อน ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ q 5-10 นาที
SpO2> 90% , HR<120 ครั้ง/นาที , SBP 90-160 mmHg , (EKG) ไม่เปลี่ยนแปลง
ถ้าไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ให้ต่อท่อช่วยหายใจเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ Setting
การถอดท่อช่วยหายใจ
เกณฑ์การพิจารณา
แพทย์พพิจารณาให้ถอดท่อช่วยหายใจได้ (extubation)
Pt สามารถหายใจผ่าน T Piece 10 LPM เกิน 2 hr
Pt สามารถไอขัลเสมหะออกมาได้แรงพ้นท่อช่วยหายใจ
Pt รู้สึกตัวดีหรือ GCS >10 คะแนน
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
วิธีถอด
จัดท่านอนศีรษะสูง ดูดเสมหะในปากและลำคอท่อช่วยหายใจให้โล่ง
แกะพลาสเตอร์ที่ช่วยยึดท่อช่วยหายใจ
เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจออกให้หมดโดยใช้ syringe
ให้Pt.กลั้นหายใจและค่อยๆดึงท่อออก พร้อม ให้Pt ไอขับเสมหะออกมาแล้วดูดเสมหะให้อีกครั้ง
ให้ O2 mask with collugate 10 LPM เป็นเวลา2 hr
V/S q 15 นาที 30 นาที 1 hr จนstable
1 more item...
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะ
ให้ O2 mask with collugate 10 LPM 2 hr หลังจากนั้นเป็น O2 cannula 3-6 LPM