Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สภาพแวดล้อมในการทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย - Coggle Diagram
สภาพแวดล้อมในการทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
ความหมายและประเภทของสิ่งแวดล้อมการทำงาน
ความหมายสิ่งแวดล้อมการท างาน สิ่งแวดล้อมการทำงาน หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่
ล้อมรอบตัวผู้ประกอบอาชีพในขณะทำงาน
ประเภทของสภาพแวดล้อมในการท างาน การดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย แบ่งสภาพแวดล้อมในการทำงานออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ สภาพแวดล้อมในการทำงานด้านกายภาพ สภาพแวดล้อมในการท างานด้านเคมี สภาพแวดล้อมใน
การทำงานด้านชีวภาพ
สิ่งคุกคามจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านกายภาพ
เสียงรบกวน (Noise)
สั่นสะเทือน (Vibration)
ความร้อน (Heat)
ความเย็น (Cold)
รังสีแตกตัว lionizing Radiation และรังสีไม่แตกตัว Non- lonizing Radiation
ความกดดันอากาศ Pressure
แสงสว่าง Light
สิ่งคุกคามจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านเคมี
ทางเข้าสู่ร่างกายของสารเคมีเมื่อสารเคมีเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะเกิดการดูดซึมและ
กระจายตัวไปยังอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกาย
การแบ่งชนิดของอนุภาคตามลักษณะทางกายภาพ อนุภาคของสารเคมีที่แขวนลอยใน
บรรยากาศ เรียกว่า แอโรซอล (Aerosol) คือ อาจอยู่ในรูปของแข็ง ของเหลว และก๊าซ
อาการและอาการแสดงออกของร่างกายเมื่อได้รับสารเคมีเมื่อผู้ปฏิบัติงานได้รับสารเคมี
ในรูปแบบต่าง ๆ เข้าสู่ร่างกาย จะทำให้ร่างกายมีการตอบสนองต่อสารเคมี
ผลกระทบต่อสุขภาพจากสารเคมี
ปัจจัยที่เป็นองค์ประกอบในการเกิดอันตรายจากสารเคมีต่อร่างกาย
6.ค่ามาตรฐานสารเคมีในสิ่งแวดล้อม
สิ่งคุกคามจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านชีวภาพ
1.จุลินทรีย์และพิษจุลินทรีย์ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา โปรโตซัว
สัตว์เลื้อยคลานและแมลงกัดต่อย เป็นอันตรายอย่างมากกับผู้ปฏิบัติงาน เช่น งูพิษชนิด
ต่าง ๆ
สารที่ท าให้เกิดการแพ้พิษจากพืช ท าให้เกิดอาการผิวหนังอักเสบ คันจากการสัมผัส
เช่น ต าแยหรือหมามุ่ยหรือพืชที่มีขนชนิดต่าง ๆ
โปรตีนจากสัตว์มีกระดูกสันหลังที่ท าให้เกิดการแพ้ได้แก่ ปัสสาวะ อุจจาระ ผมน้ำลาย
และโปรตีนจากสัตว์เหล่านี้อาจท าให้เกิดการแพ้ได้
สารกลุ่มอื่น ๆ ได้แก่ พืชชั้นต่ า เช่น Lichen และเฟิร์น
สิ่งคุกคามจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านการยศาสตร์และทางจิตวิทยาสังคม
การปฏิบัติงานในลักษณะท่าทางฝืนธรรมชาติ เช่น มีการยืดหรือเหยียดกล้ามเนื้อมาก
เกินไป
การทำงานซ้ าซากจ าเจ เช่น การตรวจสอบชิ้นงานขนาดเล็กตลอดทั้งวัน
การออกแบบสถานีงาน เครื่องมือไม่เหมาะสม เช่น เครื่องมือมีขนาดใหญ่หรือเล็กเกินไป
ทำให้ต้องออกแรงมาก
การทำงานกะ (Shift Work) โดยเฉพาะอย่างยิ่งการท างานในเวลากลางคืน ทำให้เกิด
ปัญหาสุขภาพต่าง ๆ
การทำงานที่มีระยะเวลายาวนาน เช่น การปฏิบัติงานล่วงเวลาหรือ OT (Over Time)
ส่งผลเสียต่อร่างกาย
การยกของหนักเกินความสามารถของร่างกาย ท าให้เกิดอาการปวดหลังจากการยก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปวดหลังส่วนล่าง (Low Back Pain)
การทำงานที่ต้องนั่งหรือยืนเป็นเวลานาน การทำงานยืนต่อเนื่องเป็นเวลานานจะท าให้
ผู้ปฏิบัติงานเกิดการปวดขา
การปฏิบัติงานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น แสงสว่างไม่มากเกินไป
หรือน้อยเกินไป มีความสั่นสะเทือน มีเสียงดังรบกวน