Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปมนุษย์กับความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมบทที่1-4, : : - Coggle Diagram
สรุปมนุษย์กับความหลากหลายทางสังคมและวัฒนธรรมบทที่1-4
ความหมายและลักษณะสำคัญของสังคมและวัฒนธรรม
ความหมายของวัฒนธรรม
หมายถึง สภาพที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม
หรือความมีระเบียบวินัย
คำว่า “วัฒนธรรม”เป็นอยู่จริง เมื่อนำสองคำมารวมเข้ากัน
จึงกลายเป็น“ธรรม” ภาษาสันสกฤตว่า ธรฺม หมายถึง สภาพที :
“วัฒน” ภาษาบาลีว่า วฒฺน หมายถึง ความเจริญ
งอกงาม
ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายไว้ว่า สิ่งที่ทำความเจริญงอกงามให้แก่หมู่คณะ เช่นวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมในการแต่งกาย
ปัจจุบันมีการให้ความหมายที่
กว้างออกไป
ไม่ได้หมายเฉพาะสิ่งที่ดีงามอย่างเดียว
ปัจจุบัน มีการนิยามที่เชื่อมโยงกับสภาพหรือเงื่อนไขที่เข้าไปสัมพันธ์กับมนุษย์ด้วยเพราะถ้าไม่มีบริบทสภาพแวดล้อม มนุษย์ก็ไม่สามารถสร้างวัฒนธรรมขึ้นมาได้ ดังนั้นการนิยามในระยะหลัง จึงเน้นให้ความสำคัญกับสภาพแวดล้อมหรือบริบททางสังคมที่เอื้อให้มนุษย์สามารถสร้างวัฒนธรรมขึ้นได้
ลักษณะสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับ
การดำเนินชีวิตในสังคมมนุษย์
วัฒนธรรมเป็นผลรวมของแบบแผน และแนวการดำเนินชีวิตของสมาชิกในสังคมให้เป็นไปตามแบบแผนเดียวกัน
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่อาจ
เปลี่ยนแปลงได้
หน้าที่ของวัฒนธรรม
เป็นตัวกำหนดอัตลักษณ์ของ
สังคม
เป็นตัวกําหนดรูปแบบของสถาบัน
เป็นตัวกําหนดบทบาทความสัมพันธ์หรือพฤติกรรมของมนุษย์ (Social Relation)
เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ที่แสดงว่า สังคมหนึ่งแตกต่างไปจากอีกสังคมหนึ่ง
ทําหน้าที่ควบคุมสังคม (SocialControl)
6ทําให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันในสังคมผ่านสำนึกร่วม.
เป็นปัจจัยที่สําคัญในการสร้างและหล่อหลอม(moulding) บุคลิกภาพทางสังคมให้กับสมาชิก
8.ทําให้สมาชิกแต่ละสังคมตระหนักถึงความหมายและวัตถุประสงค์การมีชีวิตของตน
สร้างหรือจัดแบบความประพฤติ
เพื่อว่าบุคคลจะได้ปฏิบัติตาม
ลักษณะสำคัญของสังคม
สร้างระบบความสัมพันธ์กันใน
กลุ่มคน
สร้างระบบการติดต่อสื่อสารกัน
สร้างระบบมาตรฐานทางพฤติกรรมร่วมให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน
4.จัดระบบช่วงชั้นและสถานภาพของสมาชิก
5.สร้างกลไกในการเพิ่มสมาชิกอย่างมีระเบียบ
6.ทำหน้าที่ขัดเกลาและพัฒนาสมาชิกในสังคมผ่านระบบระเบียบกฎเกณฑ์รวมถึงจริยธรรมทางสังคมที่สร้างขึ้น
7.จัดระบบสวัสดิการให้สมาชิกมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต
ธรรมชาติมนุษย์
ก. ก าเนิดมนุษย์ในทัศนะของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีวิวัฒนาการมาจากการผสมผสานระหว่างกลุ่มความเชื่อคนท้องถิ่น
(ดราวิเดียน/ทัศยุ) ซึ่งมีความเชื่อเกี่ยวกับการบูชาไฟ (อัคคิเวสสนะ)
วิวัฒนาการแห่งชีวะแบ่งออกเป็น 5
1) ชีวะส่วนที่เป็นอาหารให้ร่างกายด ารงอยู่ได้(อันนมัย)
2)ส่วนที่เป็นชีวิต (ปราณมัย) เริ่มตั้งแต่พืชและมีวิวัฒนาการต่อมาเป็นสัตว์และมนุษย์
3)ส่วนที่เป็นจิต (มโนมัย) ที่ปรากฏเป็นสัญชาตญาณ และมีความคิดทบทวน
4) ส่วนที่เป็นวิญญาณ(วิญญาณมัย) ที่รู้จักคิด รู้จักใช้เหตุผลที่ท าให้มนุษย์มีความแตกต่างจากสัตว์เดรัจฉาน
5) ส่วนที่เป็นชีวะระดับคัมภีรภาพ (อานันทมัย) อันท าให้เข้าถึงความสุข
ข. ก าเนิดมนุษย์ในทัศนะของศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ ได้กล่าวถึงโลกทัศน์เกี่ยวกับมนุษย์ไว้อย่างไม่ชัดเจนถึงกำเนิดมนุษย์ อันเนื่องมาจากโลกทัศน์แบบพุทธมองว่า ชีวิตของมนุษย์เป็นวงเวียนที่ไม่สามารถจะระบุชัดเจนถึงจุดเริ่มต้น และจุดสิ้นสุด (อนมตัคคะ) ของชีวิต
ธรรมชาติมนุษย์
ก. ธรรมชาติมนุษย์ในทัศนะศาสนา
ศาสนาพุทธเมื่อพูดถึงธรรมชาติของมนุษย์ในทัศนะของศาสนาพุทธ ซึ่งยอมรับว่า มนุษย์ประกอบด้วยขันธ์5 คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ เมื่อว่าโดยสรุป ก็มีเพียงรูปกับนาม หรือร่างกายกับจิตใจแต่สิ่งที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์ คือจิต เพราะจิตเป็นตัวสั่งการให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมตามค าสั่ง เข้าท านองสุภาษิตไทยว่า ”ใจเป็นนาย กายเป็นบ่าว”
ศาสนาคริสต์และอิสลามศาสนาคริสต์และอิสลาม มีวิวัฒนาการทางความเชื่อร่วมกัน จึงมีความเชื่อว่า เดิมพระเจ้าได้สร้างมนุษย์คนแรกขึ้นมา
ข. ธรรมชาติของมนุษย์ในทัศนะของนักปราชญ์
กลุ่มนักปราชญ์ หรือนักคิดมีข้ออ้าง (เหตุผล) ที่จะอธิบายว่า มนุษย์มีธรรมชาติเป็นอย่างไรแตกต่างกันออกไป แต่อาจสรุปได้เป็น 3 กลุ่มทัศนะหลักๆ คือ
โสกราตีส มีทัศนะว่า ไม่มีการแบ่งแยกกันระหว่างความรู้กับการกระท า คนฉลาดก็
คือคนดี
ขงจื้อ เชื่อว่า ธรรมชาติของมนุษย์นั้น มีคุณความดีติดตัวมาแต่ก าเนิด และคุณ
ความดีที่ติดตัวมาแต่ก าเนิดนี้เป็นสิ่งที่ได้รับจากสรวงสวรรค์
จอห์น ล็อค มีทัศนะตรงกับ 2 ท่านข้างต้นว่า มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นคนดี ไม่เห็น
แก่ตัว แต่สภาพแวดล้อมอาจท าให้เขากลายเป็นคนเห็นแก่ตัวในภายหลัง
มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นคนดี ไม่เห็น
แก่ตัว แต่สภาพแวดล้อมอาจท าให้เขากลายเป็นคนเห็นแก่ตัวในภายหลัง
กลุ่มทัศนะที่เชื่อว่า มนุษย์มีธรรมชาติไม่ดีมาแต่ก าเนิด
มนุษย์กับคุณค่าท่ามกลางความหลากหลายทางวัฒนธรรม
เกณฑ์ตัดสินคุณค่าทางจริยธรรม
1) สัมพัทธนิยม (Relativism)
(1) สัมพัทธนิยมส่วนบุคคล (Individual Relativism)
(2) สัมพัทธนิยมทางสังคม (Social Relativism)
2) สัมบูรณนิยม (Absolutism)
(1) เจตจ านงนิยม (Intentionalism)
(2) กรรมนิยม (Deontologicalism)
คุณค่าและเป้าหมายของมนุษย์
คุณค่าและเป้าหมาย
เป้าหมายของชีวิตมนุษย์ในฐานะเป็นสิ่งดีมีคุณค่าต่อการแสวงหา
2) สิ่งที่มีคุณค่าอยู่ภายนอกตัว
1) สิ่งที่มีคุณค่าอยู่ภายในตัว
แนวคิดทฤษฎีสุขนิยม แบ่งออกเป็น 2 แนวคิดย่อย
1) สุขนิยมแบบอัตนิยม (Egoistic Hedonism)
2) สุขนิยมสากล (Universalistic Hedonism)
: :