Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาโรคทางหู คอ จมูก, นางสาวปัทมา พันธุ์คีรีกุล ชั้นปี 2…
พยาธิสรีรวิทยาโรคทางหู คอ จมูก
คอ
โรคของสายเสียง
หินปูนต่อมทอนซิล
เจ็บคอจากการติดเชื้อ แบคทีเรีย
พบน้อยกว่า
อาการ
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการไอและมักไม่มีน้ำมูก
วิธีการรักษา
ปรึกษาแพทย์เพื่อวินัจฉัยว่าควรใช้ยาปฏิชัวนะหรือไม่หรือไปพบแพทย์
เจ็บคอจากการติดเชื้อ ไวรัส
พบบ่อยกว่า
อาการ
ส่วนใหญ่มักมีน้ำมูกและไอ อาจมีเสียงแหบและเจ็บคอร่วมด้วย
วิธีการรักษา
หายเองได้ด้วยภูมิต้านทานของร่างกายการพักผ่อนและกลั้วคอด้วยน้ำเกลือจะช่วยให้หายเร็วขึ้น
หน้าที่ของต่อมทอนซิล
ด่านสกัดกั้นไม่ให้เชื้อโรคลงไปสู่ทางเดินหายใจ สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย
จมูก
โรคหวัด ( Common cold )
เป็นการติดเชื้อไวรัสที่พบ่อยที่สุดในคน
พบบ่อยในเด็ก และน้อยลงในคนสูงอายุ
คนหนุ่มสาวเฉลี่ยเป็นได้ปีละ2-3 ครั้ง
ติดต่อได้ทาง droplet ( นํ้ามูก นํ้าลาย)
หน้าที่ของจมูก
1.เป็นทางผ่านของอากาศ
2.เพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
4.ป้องกันสิ่งแปลกปลอม
5.ช่วยทําให้เสียงก้อง
3.การรับกลิ่น
ไซนัสอักเสบ
การอักเสบเยื่อโพรงไซนัส มักเกิดตามหลังการติดเชื้อหวัดหรือมีภูมิแพ้อยู่
อาการ
ปวดบริเวณใบหน้า
แน่นจมูก
นํ้ามูกข้นเป็นหนอง หรือเสมหะไหลลงคอ
จมูกมีกลิ่นเหม็น หรือได้กลิ่นลดลง
ไอ มีกลิ่นปาก หูอื้อ
หู
การตรวจร่างกาย
Otoscopy การตรวจการได้ยินด้วยส้อมเสียง
ประเภทของหู
หูชั้นนอก
หูชั้นกลาง
หูชั้นใน
ความผิดปกติ
*ความผิดปกติโดยกำเนิด
Preauricular fistula
เกิดจากการเชื่อมของเนื้อเยื่อไม่สมบูรณ์ตั้งแต่ในครรภ์
การอักเสบของหูชั้นนอกที่พบบ่อย
Otomycosis
เกิดจากเชื้อรา
คันหู
Acute otitis externa
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
เจ็บมากเวลาขยับหู หรือกด tragus
การอักเสบของหูชั้นกลาง
Acute otitis media
มักพบในเด็ก
สัมพันธ์กับการเป็นหวัด
Chronic otitis media
ผู้ป่วยมีหนองไหลออกหู เป็นๆ หายๆ
ตรวจพบมีแก้วหูทะลุ
การสูญเสียการได้ยินจากประสาทรับเสียงเสื่อม
สาเหตุที่พบบ่อย
หูตึงในผู้สูงอายุ
เริ่มเกิดในวัยกลางคน
มีการเสื่อมการได้ยินมากขึ้นเรื่อยๆ เป็น 2 ข้างเท่ากัน
มักเสียการได้ยินท่ีความถี่สูง
ฟื้นฟูด้วยเครื่องช่วยฟัง
หูตึงจากเสียงดัง
( noise-induced hearing loss)
Acoustic trauma
การสูญเสียการได้ยินทันทีที่ได้ยินเสียงดัง มากๆ
Noise-induced hearing loss
การสูญเสียการได้ยินที่ค่อยๆเกิด ขึ้น จากการสัมผัสกับเสียงเป็น
เวลานาน ( ความดัง 85 dB ติดต่อ กัน 8 ชม.)
ยา
Gentamicin Streptomycin diuretic antineoplastics
ขี้หูอุดตัน
ทําให้การได้ยินลดลง มีเสียงดังในหู
มักเกิดจากการปั่นหู
ปวดหูมาก ทันทีหลังนํ้าเข้าหู
นางสาวปัทมา พันธุ์คีรีกุล
ชั้นปี 2 รุ่นที่ 34 รหัสนักศึกษา 66120301055