Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ, นางสาวปัทมา พันธุ์คีรีกุล ชั้นปี 2…
พยาธิสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ
อาการวิทยาระบบการหายใจ
อาการเขียวคลํ้า (Cyanosis)
เขียวคลํ้าตามปลายข้อ ปลายเท้า เยื่อบุผิว สังเกตจาก เยื่อบุใต้หนังตา ลิ้น กระพุ้งแก้ม ริมผีปากแบ่งเป็น 2 แบบ
central cyanosis
-ลิ้นม่วงผิดปกติเพราะในริมปากมีเส้นเลือดฝอยมาก
ถ้าเส้นเลือดมีออกซิเจน = สีชมพู/ ถ้าเส้นเลือดมีออกซิเจนน้อยจะม่วง
peripheral cyanosis
ลิ้น -ปาก ปกติแต่ปลายนิ้วมือม่วง
Respiratory control system
สาเหตุของอาการ
Effectors ความผิดปกติของระบบหายใจ ความผิดของระบบไหลเวียนโลหต
Central controller ความผิดปกติของระบบประสาท
Sensors ศูนย์ควบคุมการหายใจถูกกดหรอืกระตุ้น เช่น การได้รับผิด
สาเหตุ
โรคที่เกี่ยวข้อง : โรคปอด* ต้นทางหลัก ๆ โรคหัวใจ โรคเลือด และ metabolism
กลไก
เมี่อมีการออกกําลังกาย ทําให้ร่างกายต้องการ ออกซิเจน หายใจมาก ถ้าหายใจไม่พอ / จะมีภาวะกรดในร่างกาย
อาการเจ็บ หน้าอก
Cardiac บีบรัด หนักๆคล้ายถูกทับ ร้าวไปทั้งแขน
GI tract เจ็บท้อง ลิ้นปี่
Chest wall ปวดแสบร้อนตามแนวเส้น = งูสวัส อักเสกตามข้อ
Pleura เจ็บแปล๊บๆ
อาการหายใจลําบาก
ความรู้สึกหายใจได้ลําบาก ต้องใช้ความพยายามหายใจ ถือว่ามีความสําคัญทางคลินิกเมื่อเกิดขึ้นในขณะพักหรือระหว่างการทํากิจกรรมที่ไม่ต้องออกแรงมากนักหรือเคยทําได้ และความแตกต่างทางภาษา
อาการนิ้วปุ้ม (Clubbing) : พ่องออกซิเจนเรื้อรัง เจอในคนที่เป็นโรคหัวใจผิดปกติ
อาการไอกลไกการตอบสนองหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดิน หายใจ ป้องกันที่สําคัญ ของในการจัดเชื้อโรค
ประเภทการไอ
ไอเป็นเลือด วัณโรค
ไอแห้ง ในโรคหอบหืด วัณโรคปอด ยากลุ่ม ACE inhibitor
ไอแบบมีเสมหะ ในโรคของหลอดลม และการติดเชื้อแบคทีเรย
ภาวะพร่องออกซิเจน (Hypoxia)
สาเหตุ
Decrease PIO2 : อยู่ที่สูง
V/Q mismatch : การไหลเวียนเYอดHลดลง
Hypoventilation : การหายใจช้า
Shunt : พยาธิสภาพส่งผลไม่ให้เกิดการแลกเปลียนก๊าซ
Diffusion limitation : การแพร่ผ่านผนังถุงลมสียไป
อาการภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด – หัวใจเต้นเร็ว
ระบบหายใจ - หายใจเรว็และแรงมากขึ้น
ภาวะคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง (Hypercapnia)
มีความผิดปกติ deadspace เพิ่มขึ้น เช่น โรคถุงลมโป่งพอง
Hypoventilation (หายใจช้า)
การหายใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute respiratory Failure)
ภาวะที่ปอดไม่สามารถนําออกซิเจนสู่เลือด
และไม่สามารถระบายคาร์บอนไดออกไซด์มี 4 ชนิด คือ
Acute hypercapnia respiratory failure
รjางกายไม่ลดการระบาย ออกซิเจน ออกจากปอดได้ PaCO2 > 50 mmHg
3.Perioperative respiratory failure ภาวะปอดแฟบ
Acute Hypoxemic respiratory failure
ปอดไม่สามารถนําออกซิเจนเข้าปอดได้ PaO2 จาก ABG < 60 mmHg
Acute Circulatory failure ในผู้ป่วยเสียดเลือด มีภาวะช๊อค
การส่งออกซิเจน
Oxygen ละลายในนํ้าได้ดีสามารถจับฮีโมโกลบินได้ดี Oxygen วัดได้จาก ออกซิเจนภายในเลือด / ออกซิเจนมี 2 ส่วนอยู่ในน้ำเลือด 3 % อยู่ใน RBC 97%
COVID-19
การรกัษา
ส่วนใหญ่หายได้เอง
•ยาที่ใช้ในการรักษา ใช้กรณีอาการรุนแรงส่วนใหญ่ยังอยู่ในการทดลอง
ในผู้ป่วยที่อาการรุนแรงหรือวิกฤติ เน้นการประคับประคองจน กระทั่งพ้นอาการวิกฤติ
RNA virus
SARS-Co-V
MERS-Co-V
COVID-19
ระยะฟักตัว
เฉลี่ย 4-5วัน(2-14วัน)
การติดต่อ
Droplets
Air born เฉพาะเมื่อเกิด aerosal เช่นพ่นยา
Direct contact
อาการ
ในผู้มีอาการ อาจมีอาการของ
การติดเชื้อไวรัส หรือ ปอด อักเสบ
ส่วนใหญ่ไม่มีอาการ
Oxygen delivery to tissue
Anemia มีhemogdbIn น้อยส่งไปปลายทางลดลง
Normal เอา ออกซิเจน ไปยังเนื้อเยื้อต่าง
Impaired gas Exchange gasผ่านน้อย / ความผิดปกติของปอด ถุงลมมีปัญหา
Shock เลือดไหลช้าส่ง ออกซิเจน ได้น้อย
โครงสร้างและหน้าที่
Blood vessels and Flow
Stability of Alveoli
Airways and Airflow
อาการเข้าสู่ปอดโดย เข้าจมูก ท่อหลอดลม ปอด
แล้วก็แต่เป็น 2 ทางไปเริ่อย ๆ แตกจํานวน 20 gen . ตั้งแต่ 17 gen ลงไปจะมีถุงลมแล้ว
Removal of inhaled particles
Blood-Gas Interface
การเอา gas เข้าสู่กระแสเลือด
จํานวน 500,000,000 alveoli
Ventilator supply and demand
ความสามารถสูงสุดในการหายใจ
และการหายใจเพียงพอต่อร่างกายต้องการ
นางสาวปัทมา พันธุ์คีรีกุล
ชั้นปี 2 รุ่นที่ 34 รหัสนักศึกษา 66120301055