Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์การถดถอย -…
บทที่ 11 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการวิเคราะห์การถดถอย
สหสัมพันธ์ (Correlation)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลหรือตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
มีความสัมพันธ์กันในระดับใด
มีความสัมพันธ์ใ์นทิศทางใด
วิธีการตรวจสอบลักษณะความสัมพันธ์
1. แผนภาพการกระจาย (scatter diagram)
2. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (correlation coefficient)
สถิติที่ใช้วัดค่าสหสัมพันธ์อย่างง่าย
สถิตินี้เรียกว่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่าย (Simple Correlation Coefficient)
วิธีการคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ฟี
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน
การศึกษาความสัมพันธ์แบบไม่อิงพารามิเตอร์
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงอันดับของสเปียร์แมน
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ คือ การระบุค่าประมาณความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรสุ่ม คือ การบ่งบอกถึงกระบวนการจริงบางอย่าง
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน
วิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร 2 ตัวแปร ว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่
ความสัมพันธ์เชิงบวก
ความสัมพันธ์เชิงลบ
การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression)
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้นตรง
การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นเดี่ยว (Simple Linear Regression)
การวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis)
การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis)
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
ตัวประมาณการหรือตัวแปรต้น
ตัวตอบสนองหรือตัวแปรตาม
ประเภทของการวิเคราะห์การถดถอย
1.การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (Linear Regression)
2.การวิเคราะห์การถดถอยโพลีโนเมียล (Polynomial Polynomial regression)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เป็นแบบเส้นโค้ง
3.การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส ์ (Logistic regression)
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
ตัวประมาณการ
(X) มีค่าเป็นแบบต่อเนื่องปกติ
ตัวแปรตอบสนอง
(Y) มีค่าได้ 2 สถานะเช่น ใช่/ไม่ใช่
ส่วนมากการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ จะถูกนำมาใช้
เพื่อทำนาย
ว่าจะมีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นหรือไม่
หลักการเลือกใช้สถิติ
1. พิจารณาจุดมุ่งหมาย
เพื่อเลือกใช้เนื่องจากสถิติที่เลือกใช้แต่ละจุดมุ่งหมายแตกต่างกัน
2. พิจารณาลักษณะข้อมูลว่าอยู่มาตราใด
เพราะมาตราการวัดเป็นตัวบ่งชี้ว่าจะเลือกใช้สถิติใด
3. พิจารณาตัวแปรที่จะศึกษา
โดยเฉพาะตัวแปรอิสระเนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ที่กำหนดว่าจะใช้สถิติใด