Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแปลเบื้องต้น, นางสาวศุภาพิชญ์ บ่นหา รหัสนักศึกษา 64121020016 - Coggle…
การแปลเบื้องต้น
บทที่ 2ลักษณะเฉพาะของโครงสร้างภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
Pro-drop language
ภาษาไทยเป็นภาษาที่ละประธานแม้จะพูดถึงเป็นครั้งแรกก็ตามแต่ภาษาอังกฤษไม่สามารละประธานได้
2.การเกิดสรรพนามซ้อน
จะวางไว้หลังคำนาม ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะ ซึ่งจะเป็นเสมือนหน่งคำลักษณะนาม
3.กริยารองในภาษาไทย
กริยาแสดงทิศทางหรือกริยาแท้
4.โครงสร้างประโยคกรรมวาจก
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษจะมีความแตกต่างกัน
5.การมีคำสร้อย
เป็นความฟุ่มเฟือยทางภาษา แต่ไม่ทำให้ความหมายเปลี่ยนไป
6.คำพิเศษ
จะมีคำร้องขอแสดงความสุภาพหรือไม่ก็แสดงอารมณ์
7.ลักษณะนาม
ภาษาอังกฤษใช้กับนามนับไม่ได้
8.กริยาช่วย
จะ คง ต้อง น่าจะ
9.กริยาในภาษาอังกฤษแสดงกาล
จะเปลี่ยนไปตามรูปไปตามกาล
10.การใช้คำสรรพนาม one
จะมีทั้งชี้เฉพาะและไม่ชี้เฉพาะ เป็นการแทนคำนามทั่วไป
Phrasal verb
กริยาคู่
put out
look up
บทที่ 1 ส่วนของคำในประโยค
คำนาม
คำนามที่สัมผัสจับต้องได้
คำนามที่เป็นความคิด ความรู้สึก
คำสรรพนามคือคำที่ใช้เรียกแทน คน สัตว์ สิ่งของและสถานที่
กริยา
กริยาบอกการกระทำ
กริยาบอกความรู้สึก
กริยาบอกรูปลักษณ์ของประธาน
คำคุณศัพท์
บ่งบอกลักษณะของคน สัตว์ สิ่งของ
บ่งบอกอารมณ์ ความรู้สก
ตำแหน่ง
วางอยู่หน้าคำนาม
วางอยู่หลังกริยา verb to be
คำวิเศษณ์
เป็นคำขยายการกระทำและคุณลักษณะ
ขยายกริยา
ขยายคำคุณศัพท์
คำบุพบท
แสดงความสัมพันธ์ของคำที่อยู่ในประโยคทำให้ประโยคสมบูรณ์
in on at under
คำสันธาน
คำที่ใช้เชื่อมประโยคกับประโยค
and but or for when
เอกพจน์กับพหูพจน์
เมื่อนามมากกว่าหนึ่ง ย่อมเติม s ยกเว้นคำนามบางประเภทเท่านั้น
เป็นนามมากว่าหนึ่ง ควรคำนงลักษณะของภาษาไทยซึ่งจะไม่มีการเปลี่ยนรูปของนามแต่จะแปลรวมๆ อาขไม่มีคำแสดงพหูพจน์เลยก็ได้
การแปลเป็นสิ่งที่เป็นไปได้
ฝ่ายศาสนาสนับสนุนว่าการแปลเป็นไปได้
ศาสนาคริสต์มองว่าการแปลเป็นเสือนการกอบกู้ทางวัฒนธรรมอย่าง
เพื่อฟื้นฟูความเป็นเอกภาพของศาสนาข้นมาใหม่
การแปลเป็นการไถ่บาปในศานาคริสต์
และทำให้เกิดการแปลจำนวนมาก
การแปลเฟื่องฟูมาตั้งแต่ยุคกลาง
ทฤษฎีการแปล
ยุคแรก
ยุคนี้ยาวนานมากที่มีทฤษฎีการแปลว่า จงอย่าแปลคำต่อคำ
เป็นทฤษฎีการแปลที่ที่เกิดจากคนที่ทำงานการแปลจริงๆ เอาประสบการณ์ของตัวเองขึ้นมาพูด
แปลคำต่อคำซื่งแปลที่แย่มาก
การแปลง
การแปลที่แท้จริง
ยุคที่สอง
ยุคนี้เกี่ยวข้องกับยุคทฤษฎีความหมายของการแปลเริ่มในช่วงศตวรรษที่ 18-19
ยุคนี้จะเป็นยุคเกี่ยวกับการทำความเข้าใจหมายถงอะไร
ดึงผู้อ่านไปหาผู้เขียน
ดึงนักเขียนไปหาผู้อ่าน
ยุคที่สาม
เป็นยุคที่มีเวลาอยู่สั้นมากที่สุด
เป็นยุคที่เกิดมาจากอิทธิพลแนวคิดที่เรียกว่า formalism
โรมัน ยาคอร์ปสัน
มาจากแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ทำให้เกิดนักแปลอาชีพ
ยุคที่สี่
เป็นยุคของสัญญวิทยา
เน้นไปทางด้านสหสัมพันธบท
รูปแบบการแปล
เอกสารราชการ
งานวรรณกรรม
เรื่องสั้นบันเทิงคดี
กวีนิพนธ์
ความคิดโต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องการแปล
เป็นการโต้แย้งระหว่างคนที่บอกว่าแปลได้กับแปลไม่ได้
ไม่ใช่ทุกอย่างที่แปลได้
การปฏิเสธเพราะเห็นว่าการแปลไม่มีความสมบูรณ์แบบเป็นเรื่องไร้สาระ
ประวัติความเป็นมาเกี่ยวกับการแปล
การแปลและการเป็นล่าม
การเป็นนักแปลงานเขียน เช่นงานเขียนด้านวรรณกรรมหรือวิชาการ
การเป็นล่าม ใช้กับด้านธุรกิจ พ่อค้า การติดต่อสื่อสาร
งานแปลที่เกี่ยวกับศาสนา
ศาสนาคริสต์ เป็นสิ่งลี้ลับหรือรหัสยนัย
ศาสนาพุทธ ถือว่าเทศน์ต้องเป็นภาษาบาลี
ศาสนายิวถูกแปลเป็นภาษากรีก และความเชื่อการแปลเป็นไปไม่ได้
นางสาวศุภาพิชญ์ บ่นหา
รหัสนักศึกษา 64121020016