Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู KM/PLC - Coggle Diagram
การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู KM/PLC
การจัดความรู้ในสถานศึกษา (KM)
การจัดการความรู้ในสถานศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษานั้น เป็นนวัตกรรมที่สถานศึกษาควรบริหารจัดการความรู้สู่การปฏิบัติ เพื่อบรรลุผลตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
ชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (plc)
การรวมตัว รวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็นสำคัญ ดังที่ sergiovanni (1994)ได้กล่าวไว้ว่า plc เป็นสถานที่สำหรับ ‘ปฏิสัมพันธ์’ ลด ‘ความโดดเดี่ยว’ ของมวลสมาชิกวิชาชีพครูของโรงเรียนในการทำงาน เพื่อปรับปรุงผลการเรียนของนักเรียน
1.การนำเสนอแนวคิดและสร้างความตระหนักใน plc
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี
1.มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน ด้วความสบายใจ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
2.แลกเปลี่ยนประสบการณ์ตรงหรือความรู้ที่ตนมีให้กับสมาชิกด้วยความเต็มใจ
3.สร้างระบบข้อมูล หรือเทคโนโลยีสารสนเทศของชุมชน เพื่อใช้ในการพัฒนาวิชาชีพ
2.การสะท้อนผลการปฏิบัติเพื่อพัฒนาการเรียนรู้และวิชาชีพ
สะท้อนการเรียนรู้
log book
สะท้อนผลหรือสะท้อคิด
ควรเป็นงานเฉพาะบุคคล
ประเด็นที่ควรมี ได้แก่
1.สาเหตุของปัญหา
2.แนวทางการแก้ปัญหา
3.ความรู้ที่นำมาใช้
4.ผลของการดำเนินงาน
5.ข้อเสนอแนะและอื่นๆ
Dialogue
สุนทรียสนทนา
การรวมกลุ่มที่จริงใจ
เพื่อปรึกษาหารือเรื่องงาน
ผู้เล่า : เต็มใจถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จริง
ผู้ฟัง : ฟังอย่างลึกซึ้งและจริงใจ (Deep Listening)
บรรยากาศ : ไว้วางใจกัน อบอุ่น มีความสุข
3.กลยุทธ์ในการจัดการและใช้ plc อย่างยั่งยืน
เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่ายๆ (Take a baby steps)
เริ่มต้นจากกลุ่มเล็กๆก่อน (Start small)
วางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan cooperatively)
ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data)
5 ขั้นตอน 4 เงื่อนไข ของชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ
5 ขั้นตอน
5.การวิจัยชั้นเรียน (Research)
4.การสะท้อนผลการเรียนรู้ (Reflectiom)
3.การบันทึกชั้นเรียน (lesson memo)
2.การสังเกตชั้นเรียน (Open Class)
1.การวางแผน (Planning)
4 เงื่อนไข
2.แลกเปลี่ยนเรียนรู้
3.สนับสนุนภาวะผู้นำ
1.วิสัยทัศร์ร่วม
4.กัลยณมิตร