Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ
ยารักษาวัณโรค
ยาอันดับแรก (Drugs of first choice)
Streptomycin
Soniazid
Ethambutol
Aminosalicylicacid
Rifampicin
1.Isoniazid
selective ต่อเชื้อ Mycobacteruim tuberculosis
bactericidal ต่อเชื้อที่กำลังแบ่งตัว แม้ว่าจะอยู่ใน
macrophages หรือ extracellular sites
ขนาดและวิธีใช้
•ผู้ใหญ่ใช้ขนาด 5 ถึง 8 มก./กก.
•โดยทั่วไปใช้ขนาด 300 มก./วัน ให้ครั้งเดียว
•ยกเว้นกรณีที่ให้ยาแบบเว้นระยะต้องให้สูงถึง 900 มก./วัน
•ในเด็กให้ขนาด 10 – 20 มก./วัน แต่ไม่เกิน 300 มก./วัน
Rifampicin
เป็นยําท่ีมีฤทธิ์ฆ่าวัณโรคสูงเทียบเท่าหรืออาจเหนือกว่า
ไอโซไนอะซิด
•ข้อควรระวัง
ในผู้ป่วยโรคตับ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
Pyrazinamide
first choice combination regimen
•อาการไม่พึงประสงค์
ตับอักเสบรุนแรง
ปวดข้อ ปวดศีรษะ แพ้แสงแดด ลมพิษ ผื่นขึ้น ตับโต
Ethambutol
ใช้ร่วมกับยาอื่น เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อ
•อาการไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะ มึนงง สับสน ประสาทหลอน ชาตามปลาย นิ้ว
โดยทั่วไปให้ขนาด 15–20 มก./กก.
Streptomycin
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคในภาวะที่เป็นด่างซึ่งมักเป็นเชื้อที่อยู่
นอกเซลล์
•ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด15มก./กก.หรือโดยทั่วไปให้ขนาด1กรัม/วันโดยฉีดครั้งเดียว
Thiacetazone
ใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดในการรักษาวัณโรคครั้งแรก
•อาการไม่พึงประสงค์
ถ้ารุนแรง erythema multiform , haemolytic anaemia ,
agranulocytosis , cerebral oedema , hepatitis
•ขนาดและวิธีใช้
150 มก./วัน + INH 300 มก./วัน
7.Para-aminosalicylic acid ,PAS
แต่เมื่อใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดพบว่าให้ผลการรักษาดี
•อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , เสียดแน่นท้องท้องดิน
•ขนาดและวิธีใช้
ขนาดไม่น้อยกว่า 8 – 9 กรัม/วัน แบ่งให้วันละ 2 – 3 ครั้ง
8.Ethionamide
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคค่อนข้างสูง
ไม่นำมาใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถทน
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยาได้เภสัชจลนศาสตร์
•อาการไม่พึงประสงค์
nausea , vomiting , vertigo
ขนาดและวิธีใช้
ใช้ขนาด 750 – 1000 มก./วัน
ถ้าขนาดยาต่ำกว่า 750 มก. ผลการรักษาจะไม่ดี
การจำแนกประเภทยาต้านจุลชีพ
1.ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย(bactericidal)
ยาท่ีออกฤทธิ์ท่ีผนังเซลล์หรือเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย
2.ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (bacteriostatic)
ยาท่ีออกฤทธิ์ท่ีกระบวนกํารสร้างกรดนิวคลีอิคหรือ
การสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย
ขอบเขตการออกฤทธิ์
1.ยาท่ีมีผลต่อเชื้อแบทีเรียชนิดแกรมบวก
penicillins, cephalosporins, macrolides, carbapenems, chloramphenicol, tetracyclines, cotrimoxazole, clindamycin, vancomycin
2.ยาท่ีมีผลต่อเชื้อแบทีเรียชนิดแกรมลบ
cephalosporins รุ่นท่ี 2, 3, 4, macrolides, carbapenems, chloramphenicol, tetracyclines, cotrimoxazole, aminoglycoside, aztreonam และ fluoroquinolones
3.ยาท่ีมีผลต่อแบคทีเรียท่ีไม่ใช้ออกซิเจน
cephalosporins รุ่นท่ี 3, 4, macrolides, clindamycin, imipenem, chloramphenicol และ metronidazole
4.ยาที่มีผลต่อเชื้อPseudomonasaeruginosa
ซึ่งมักดื้อต่อยาต้านแบคทีเรียท่ีใช้โดยทั่วไปยาท่ีใช้ได้ผล
cephalosporins รุ่นท่ี 3, 4
antipseudomanol penicillins เช่น ticarcillin, piperacillin
•ยาต้านจุลชีพ(Antimicrobialdrugs)
กลุ่มยาท่ีออกฤทธิ์ต่อจุลชีพ
•ยาปฏิชีวนะ (Antibiotic duugs)
สารท่ีสร้างข้ึนโดยจุลชีพชนิดหน่ึงซึ่งมีฤทธิยับยยั้งการ
เจริญเติบโต หรือทำลายจุลชีพชนิดหน่ึง
ยาต้านจุลชีพ
(Antimicrobial drugs)
Antibacterial
Antiviral
Antifungal
Antiparasitic
Antituberculosis 6. Antiprotozoa
6.Antimalarial
ประเภทยาต้านจุลชีพจำแนกตามขอบเขตการออกฤทธิ์
broadspectrum
tetracyclines,chloramphenicol,nitrofurans โดยออกฤทธิ์ต่อเชื้อแกรมบวกแกรมลบไวรัสโปรโตซัสและริกเกตเซีย
mediumspectrum
sulfonamides โดยออกฤทธิตอ่ เชื้อแกรมบวกและแกรมลบเท่านั้น
narrowspectrum
penicillins โดยออกฤทธิต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกเป็นหลัก