Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีระภาพของระบบประสาท, นางสาวธิดารัตน์ โสภาพันธ์ ชั้นปีที่ 2 …
พยาธิสรีระภาพของระบบประสาท
Brain
Cortex เป็นกลุ่มของโรคเซลล์สมอง
Subcortex เป็นกลุ่มโรคเส้นใยประสาทสมอง
1.Cortical structures
Gyri : เกี่ยวกับความรู้สึกนึกคิด / พฤติกรรม
Cerebral lobe : frontal (คิดประมวณผล), parietal (การรับรู้สึก สัมผัส) , temporal (การได้ยนิ ) , occipital (การมองเห็น)
Fissures/sulci : central ( Rolando) แบ่งครงึ่หน้า-หลัง , lateral
(Sylvius) แบ่งกึ่งกลางซ้าย-ขวา
2.Subcortical structure กลุ่มของนิวเคลียสที่อยู่ใน neuron
3.Hypothalamus สื่อสารกับร่างกายโดยฮอร์โมน/ต่อมไร้ท่อ
4.Thalamus ปรับแต่งสัญญาณประสาทให้มีความสมดุล
2.Subthalamus ควบคุมการเคลื่อนไหว
1.Epithalamus pineal gland เป็นการควบคุมสมดุลชีวิต เกี่ยวกับการรับรู้แสง (กลางวนั -กลางคืน)
-Diencephalon คล้ายกับ Eye of horus
-Basal ganglia : เป็น Neuron ทําหน้าที่ควบคุมกระแสประสาท หรือปรับสัญญาณประสาท (Adjust) ก่อนจะไปที่สมอง lobe ต่าง ๆ
Cranial nerve
CNV : trigeminal nerve การรับรู้ความรู้สึกใบหน้าทั้งหมด
CNVI : abducens n. ควบคุมลูกตา
CNIV : trochlear n. การเหล่ตา มองตํ่า กล้ามเนื้อลูกตา
CNVII : facial n. การขยับใบหน้าขยับๆขยับปาก
CNIII : oculomotor n. ควบคุมการกรอกตา รูปตา
CNVIII : vestibulocochlear รับฟังสัญญาเสียง
CNII : optic n. การมองเห็น
CNIX : glossopharyngeal n. ควบคุมเกี่ยวกับการกลืนและกล่องเสียง
CNI : olfactory n. การรับรู้
CNXI : accessory n. ควบคุมการหันหน้าและคอ
CNX : vagus n. ควบคุมหัวใจและอวัยวะภายใน
CNXII : hypoglossal n. ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อลิ้น พูดออกเสียง
Somatosensory cortex
เรียกวา่ Homunculus การเรียงตัวของประสาทการสื่อสาร (มนษุย์ ปากใหญ่ มือใหญ่)
ส่วนประกอบของระบบประสาท
Scalp แบ่งออกเป็นทั้งหมด 5 ชน
Meningesเยื่อหุ้มมอง
คอยปกคลุมและป/องกันเนื้อสมอง
มีช่องว่าง 2 ช่อง
1.Subdular
2.Subarachniod
1.Dura มีความแข็งป้องกันเนื้อสมอง
3.Pia mater ชั้นที่ติดกับเนื้อสมอง
2.Arachnoid เป็นชั้นที่มีหลอดเลือดไปเลี้ยงสมองส่วนต่าง ๆ
Skull
กะโหลกศีรษะที่ห่อหุม้ สมอง โดย neurocranium ประกอบด้วยกระดูกจํานวน 8 ชิ้น
3) กระดูก sphenoid 1 ชิ้น
4) กระดูก occipital 1 ชิ้น
2) กระดูก ethmoid 1 ชิ้น
5) กระดูก parietal 2 ชิ้น
1) กระดูก frontal 1 ชิ้น
6) กระดูก temporal 2 ชิ้น
Skin
galea aponeurotica กล้ามเนื้อเส้นเอ็นรูปทรงแบน และกว้าง ปกคลุมกะโหลกศีรษะส่วนบน ทําหน้าที่เชื่อมกล้ามเนื้อส่วนหน้า ที่หน้าผาก กับกล้ามเนื้อที่รั้งหนังศีรษะ
loose connective tissue ช่วยคํ้าจุนอวัยวะและเนื้อเยื่อบุผิวให้อยู่ในตําแหน่ง ที่เหมาะสม
connective tissue ชั้นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันหนาแน่น
pericraniumเชิงกรานที่ปกคลุมพื้นผิวด้านนอกของกระดูกของกะโหลกศีรษะ
Vascular system
Middle meningeal artery (MMA) การเกิดบาดแผลหรือโดนกระแทก ทําให้กระดูกกดเส้นเลือดฉีกขาด
ORGANIZATION OF THE NERVOUS
SYSTEM
1.Central Nervous system
ตัวประมวลผลในกระบวนการต่าง ๆ
2.Peripheral Nervous system มีการสั่งการ 2
แบบ
2.1 autonomic Nervous system ระบบสั่งการอัตโนมัติเช่น เหงื่อออก การเคลื่อนไหวของลําไส
-Sympathetic จะเกิดในภาวะฉุกเฉิน หรือ
ภาวะตึงเครยีด
-Parasympathetic ภาวะพัก
2.2 Somatic Nervous system สั่งการได้เช่น
การใช้มือหยิบจับสิ่งของ
VASCULAR SYSTEM
-Vertebral artery
-Anterior cerebral artery หากเส้นเลือด Superior sagittal sinus อุดตัน ทําให้แรงดันในสมองมาก แล้วเส้นเลือดดําจะแตก เลือดออกในสมองได้
การประมวลผลของสมอง โดยการเคลื่อนที่ของสัญญาณประสาท เรียกว่า sensory tract หรอื Spinothalamic tract เป็น tract ที่รับรู้สัญญาณความรู้สึกการสั่งการจะสลับกับความรู้สึก เช่น มดกัดด้านขวา เกิดจากสมองสั่ง การทางด้านซ้าย โดยจะมีการ cross กันตรง Spinal coed
Brain and function
ก้านสมองตายเป็นอาการที่หัวใจและปอดไม่ทํางาน
-Basal Ganglia แต่งสัญญาณประสาท
ให้มีการสั่งการอย่างสมดุล
-Medulla oblongata
-Substatia nigra
-Reticular formation ควบคุมการตื่น รู้ตัว
เช่น คนไข้โคม่า
The limbic system
ควบคุมส่วนของอารมณ์และความจํา
-Amygdala อารมณ์ -Hippocampus ความจําระยะยาว Blood brain barrier
SPINAL CORD
NEUROMUSCULAR JUNCTION
เป็นการส่งกระแสประสาทจากที่ปลาย Axon ไปยัง Muscle fiberโดยมีการเปลี่ยนสารสื่อประสาทเป็นสารเคมี
APPROACH TO WEAKNESS
-Lower motor neuron (LMN) มีกล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อฝ่อ การ reflex ของกล้ามเนื้อพลิ้วๆ เต้น สั่น ๆ
กระบวนการ reflex สัญญาณประสาทเข้ามาแปรผลที่posterior ส่งมาที่ Anterior Myelin เป็นตัวช่วยให้กระแสประสาทส่งได้เร็วขึ้น
VENTRICULAR SYSTEM
โพรงสมอง โดยในโพรงสมองจะมีน้ำ CSF น้ำหล่อเสียงไขสันหลัง ซึ่ง CSF จะผลิตจาก Choroid plexus กรองเม็ดเลือดไม่ใหห้ ลุดไปที่ Ventricle ทําหน้าที่ให้สมองฟูลําเสียงสารอาหาร ขับของเสียง
สรุป
เส้นเลือดแดงจะเข้าไปเลี้ยงสมองโดยตรง ( มีออกซิเจนมาก) อีกส่วนจะส่งไปที่ Choroid plexus กรองเป็น CSF
เซลล์สมองใช้ออกซิเจนเสร็จจะส่งไปที่ cortical Venus ที่เส้นเลือดดํา
1.Lateral ventricle
3.Fouth ventricle
2.Third ventricle
นางสาวธิดารัตน์ โสภาพันธ์ ชั้นปีที่ 2
รหัสนักศึกษา 64120301032