Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ
Antimicrobial drugs
Antibacterial
Antiviral
Antifungal
Antiparasitic
5.Antituberculosis
Antiprotozoa
Antimalarial
Aminoglycoside
เป็นยากลุ่มที่มีขอบเขต ในการ
ต้านจุลชีพค่อนข้างกว้าง
ㆍStreptomycin, Neomycin, sisomicin
ㆍKanamycin, Amikacin
ㆍGentamicin, tobramycin
โรคระบบทางเดินหายใจที่ต้องได้
รับยาต้านจุลชีพ 3 ชนิด
โรคคอหอยอักเสบจากเชื้อgroupAstreptococci(groupAstreptococcalpharyngitis)
โรคไชนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
(bacterial rhinosinusitis)
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media)
ประโยชน์ทางการแพทย์
ใช้ร่วมกับยาต้านจุลชีพอื่นๆ ในการกำจัดเชื้อ Helicobacter
pylori ใน peptic ulcer
โดยยาแต่ละชนิดรับประทานในขนาดดังกล่าว วันละ 2 ครั้ง
เป็นเวลา 1 สัปดาห์หรือนานกว่านี้
รับประทานครั้งละ 500 mg นาน 1 สัปดาห์
(Metronidazole 500 mg + omeprazole 20 mg +
clarithromycin 500 mg
คำแนะนำทั่วไปในการ
ใช้ยาต้านจุลชีล
ยาปฏิชีวนะที่ต้องรับประทานก่อนอาหารเช่น
penicillinV , Cloxacillin , ampicilin ควรรับ
ประทานก่อนอาหารอย่างน้อยครึ่งชั่วโมง
ควรรับประทานยาติดต่อกันทุกวันตามแพทย์สั่งจนยาหมดเพื่อ
ให้ได้ผลในการรักษาและป้องกันการดื้อยา
ยา Cefaclor , cefuroxime, cephalein ,
cefamandole ,cefoperazone ,metronidazole รับประทานยา
เหล่านี้แล้ว ห้ามดื่มเหล้า หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ทำให้มี
อาการมึนงง คลื้นไส้
การจำแนกประเภทยาต้านจุลชีพ
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคที่เรีย(bactericidal)
ยาที่ออกฤทธิที่ผนังเซลล์หรือเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย
ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย(bacteriostatic)
ยาที่ออกฤทธิ์ที่กระบนการสร้างกรดนิวคลีอิคหรือการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย
ประเภทยาต้านจุลชีพ จำแนกขอบเขตการออกฤทธิ์
broadspectrumetracyclines,chloramphenicol,itfurs โดยออกฤทธิ์ต่อเชื้อแกรมบวก แกรมลบ ไวรัส โปรโตซัว แลพริกเกตเซีย
mediumspectrum
sulfonamides อกฤทธิ์ต่อเชื้อแกรมบวกและแกรมลบเท่านั้น
3.narrowspectrum
penicillins ออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกเป็นหลัก