Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ part2 - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ part2
Antiviral drugs ยาต้านไวรัส
Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
ใช้ป้องกันและรักษาไข้หวัดใหญ่ type A
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ของไวรัสโดยขัดขวางการเกาะติดของไวรัสและการ ปลดปล่อยกรดนิวคลีอิคของไวรัสเข้าสู่เซลล์
ยานี้จะใช้ได้ผลต่อเมื่อหลังจากติดเชื้อไวรัสแล้วไม่เกิน 72 ชั่วโมง
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
นอนไม่หลับ ตามัว ตาพร่า ซึมเศร้ามือสั่น บางรายมีอาการคลื่นไส้อาเจียนปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย
ผื่นที่ผิวหนัง เกิดขึ้นในสัปดาห์แรกของการใช้ยา
รูปแบบขนาดและวิธีให้ยา
ชนิดแคปซูล 100 มก. และ ชนิดน้ำเชื่อม 50 มก./5มล.
ผู้ใหญ่ให้ 100 มก.วันละ 2 ครั้ง
เด็กอายุ 1-9 ปีให้ 2-4 มก./กก./วัน
ให้ 2-3 ครั้งขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 150 มก.
Interferon ( IFN )
สามารถยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติดเชือไวรัสติดเชื้อไวรัส
อาการไม่พึงประสงค์
Interferon syndrome คือมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดศรีษะ อ่อนเพลีย ปวด
กล้ามเนื้อ ปวดข้อ เบื่ออาหาร
สามารถใช้ยาพาราเซตามอล ลดไข้ได้ อาการจะทุเลาลงเมื่อหยุดใช้ยา
Idoxuridine ( IDU )
เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบและ แผลที่กระจกตา
อาการไม่พึงประสงค์
ทำให้เกิดการอักเสบ มีอาการบวมแดง คัน แสบและเคืองตา
รูปแบบขนาดและวิธีใช้ยา
0.5 % ชนิดป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง
ในเวลากลางวันและป้าย 1 ครั้งก่อนนอน
ใช้นาป้ายตาต่อไปอีก 3-5 วัน หลังจากแผลที่หายแล้ว
Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
แผลที่กระจกตา ผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการไม่พึงประสงค์
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน และอ่อนเพลีย
กดการทำงานของไขกระดูก
มีอากอักเสบขของหลอดเหลือดดำในบริเวณที่ให้ยา
Acyclovir
ไวรัสเริม และอีสุกอีใส – งูสวัด
อาการไม่พึงประสงค์
มีผลต่อการทำงานของตับไต อาการคลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเดิน
ยารักษาโรคติดเชือเฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
รูปแบบยาขนาดและวิธีการใช้
ขี้ผึ้งป้ายตาขนาด 3 %
ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง จนอาการทุเลา และควรป้ายตาต่ออีก 1 สัปดาห์ ใช้เวลา ประมาณ 15 วัน
ยาเม็ด 200 และ 400 มก.
อาการครั้งแรกนานไม่เกิน 5 วัน ให้ 200 มก. วันละ 5ครั้ง เป็นเวลา5-10 วัน
งูสวัดให้ 500 มก. ทุก 4 ชั่วโมงนาน 7- 10 วัน ตังแต่เริ่มมีอาการ
ANTIFUNGALS ยาต้านเชื้อรา
ชนิดที่ใช้ทาภายนอก(Topical)
Ciclopirox olamine
ออกฤทธิ์กว้าง มีฤทธิ์เป็น Fungicidal ต่อเชื้อ Candida albicans
รักษา
Tinea corporis
Tinea cruris
Cutaneous candidiasis
Tinea pedis
tinea versicolor
หยุดการเจริญเติบโตของ Pityrosporum orbiculare (M.furfur) ได้
Imidazoles
ออกฤทธิ์กว้าง
มีผลตอแบคทีเรีย และโปรโตซัวบางอย่าง
Clotrimazole, econazole และ Miconazole
Tolnaftate
ใช้รักษาโรคที่เกิดจากเชื้อ Dermatophyte
มีใช้ในรูปของ1% Ointment และ Solution
Sodium Thiosulphate
ใช้รักษาเกลื้อน ป้องกันเชื้อราที่เท้าในบริเวณสระน้ำ
เป็นสารที่ไม่มีพิษ ถ้ารับประทานมากๆ จะมีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Whitfield’s ointment
มีฤทธิ์เป็น Fungistatic
มักจะใช้รักษา Tinea pedis
ทำให้ชั้นKeratin หลุดลอกออกไปเร็วขึ้นมีผลให้เชื้อราที่อาศัยอยู่ในKeratin ถูกกำจัดไปด้วย
Selenium Sulphide
ดูดซึมได้ถ้าผิวหนังอักเสบหรือเป็นแผล
มีพิษมากถ้ารับประทานเข้าไป
ใช้สระผมรักษารังแคที่ศีรษะ และใช้ทารักษาโรคเกลื้อนได้
มีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ซีดและตับเสียได้
ชนิดสำหรับใช้รับประทาน(Systemic)
Ketoconazole
มีฤทธิ์ต่อ Gram positive cocci
มีฤทธิ์ต่อต้าน Parasite
Plasmodium falciparum ทั้งที่ Sensitive และ
Resist ต่อ Chloroquine
Leishmania tropica
รักษา Dermatophytes, Candidal
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ปวดท้อง
เลือดออกตามไรฟัน อาการกลัวแสง (Photophobia)
เกล็ดเลือดน้อยลง (Thrombocytopenia)
กดการทำงานของต่อมหมวกไต
ใช้ยาขนาด 200 มก. ต่อวัน
ยกเว้น Vaginal candidiasis ให้ 400 มก. ต่อวัน
ในการติดเชื้อที่รุนแรงอาจใช้วันละ 400 มก. เช่นกัน
Griseofulvin
เป็น Fungista tic ต่อเชื้อรา โดยเฉพาะพวก Dermatophytes ใช้รักษาเชื้อรา ของผิวหนังรวมทั้งผมและเล็บ
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
ปวดศีรษะ อ่อนเพลียวิงเวียนศีรษะคลื่นไส้อาเจียนท้องเดินปากแห้งอาการเหน็บชา
เป็นพิษต่อตับ
เม็ดเลือดขาวตํ่า (Leukopenia)
เด็กให้ 10 มก./กก./วัน ผู้ใหญ่ให้วันละ 500 มก. ถึง 1 กรัม ต่อวัน
Nystatin
มีผลต่อ Candida, Cryptococcus, Histoplasma และ Blastomyces
ดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
ใช้เป็นยารักษาเชื้อ Candida ในทางเดินอาหาร
Itraconazole (sporal R)
มีขอบเขตในการออกฤทธิ์กว้าง
ใช้ได้ผลในการรักษา
Yeast
Candida species
Dermatophytes
Aspergillus species
เป็นยาต้านเชื้อราชนิดรับประทานตัวแรกของ ยาในกลุ่ม Triazole
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องอืด
และปวดศีรษะ
Fluoconazole (DiflucanR )
การรักษา Cryptococcal memingitis อาจต้องให้
ติดต่อกันนาน 6-8 สัปดาห์
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน และท้องอืด
อาจพบผื่น
แพ้ยาชนิดรุนแรงเมื่อ ใช้ในผู้ป่วยโรคเอดส์
รักษาการติดเชื้อราในผู้ป่วยโรคเอดส์
ใช้ได้ผลในการติดเชื้อรา
Amphotericin B
สามารถซึมผ่านของของเหลวผ่านเซลล์เพิ่มขึ้น
มีผลในการทำลายเชื่อรา
Histoplasma capsulatum
Coccidioides immitis
Candida sp.
Blastomyces dermatitidis
Cryptococcus sp.
Aspergillus sp.
มีอันตรายในการใช้ค่อนข้างสูง
อาการไม่พึงประสงค์
ไข้ หนาวสั่น ความดันเลือดต่ำ หอบเหนื่อย
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดตามตัว ปวดศีรษะ
อาจทำให้เกิดพิษต่อไต และระบบประสาท
ยาต้านไวรัสเฮชไอวี (ANTI-HIV)
Reverse transcriptase inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
DNAโดยยับยั้งเอนไซม์ reverse transcriptase
stavudine (d4T)
lamivudine (3TC)
zalcitabine (ddC)
Mevirapine
didanosine (ddI)
Delavirdine
zidovudine (AZT)
efavirenz
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะและเป็นพิษต่อตับ
ยาบางชนิดทำลายไขกระดูกหรือทำให้ปลายประสาทอักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
Protease inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดขวางขั้นตอน
replication
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้อาเจียน ท้องฃเะดิน และอ่อนเพลีย
ยาบางชนิดอาจทำให้ปวดศีรษะและปลายประสาทอักเสบ
Saquinavir, Ritronavir, Indinavir, nelfinavir
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
อาการและพยาธิสภาพของโรค
ระยะร้อน ผ้ปู่วยมีไข้สูงคลื่นไส้อาเจียนหน้าแดง ระยะนี้กินเวล า 2 - 6 ชั่วโมง
ระยะเหงื่อออก เป็นระยะที่ผู้ป่วยเริ่มฟื้นจากไข้
ระยะหนาวสั่น จะเกิดขึ้นตรงกับเวลาแตกของเม็ด
เลือดแดง ระยะนี้กินเวลา15-60 นาท
ยาที่ใช้รักษา
Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
อาการไม่พึงประสงค์
Cinchonism ปวดศีรษะหูอือ ตาพร่า คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
Black water fever ผู้ป่วยปัสสาวะเป็นสีดำเนื่องจาก ขาดเอนไซม์ G-6-PD ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ช่วยทำให้เม็ดเลือด แดงคงสภาพอยู่ได้ไม่แตกง่าย
อาการแพ้
หอบ ลมพิษ (เป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด)
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
อาการไม่พึงประสงค์
มึนงง เบื่ออาหาร ท้องเดิน ปวดศีรษะ มีผื่นคัน
มองเห็นไม่ชัด เห็นภาพหลอน ตื่นเต้น และเส้นประสาทส่วนปลาย ผิดปกติ
หญิงมีครรภ์ที่ได้รับยานี้เด็กที่เกิดมาอาจจะหูหนวกสมองเสื่อม (mental retardation)
Primaquine Sulfate
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ป้องกันการเกิดไข้กลับ
ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
อาการไม่พึงประสงค์
ผู้ป่วยที่ขาดเอนไซม์G-6-PDถ้ารับPrimaquineผิวเม็ดเลือดแดงจะถูกออกซิไดซ์ได้ง่าย เม็ดเลือดแดงจะแตกทำให้ปัสสาวะเป็นสีแดงแก่หรือดำ
อากาาที่เกิดขึ้นเมื่อให้ยาในขนาดสูง เช่นได้รับปริมาณ 60-240 มก.
คลื่นไส้ปวดศีรษะมีผื่นคันการปรับสายตาเพื่อมองภาพไม่ชัดเจน
ปวดท้องเกร็ง (abdominal cramp)
เกิดการขาดออกซิเจน
Antifolate
กลไกการออกฤทธ์ิ
เมื่อนำยา Sulfadoxine ผสมกับ Pyrimethamine ยา 2 ชนิดจะออกฤทธ์ิ ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ DHFR คนละขั้นตอนกันจึงเสริมฤทธิ์กัน
ใช้ในการรักษามาเลเรียจากเชื้อที่ดิ้อต่อยา Chloroquine
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
สกัดมาจากสมุนไพรจีนจากต้น ชิงเฮา
ยานี้ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ P. f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine ได้ผลดี
จะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
Mefloquine
กลไกการออกฤทธ์ิ
สามารถกำจัดเชื้อมาเลเรียในเลือดได้รวดเร็วรวมทั้งเชื้อที่ดื้อต่อ Chloroquineด้วย
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ใช้เฉพาะการรักษาและป้องกันเชื้อ P.f ที่ดื้อต่อยา Chloroquine หรือ เชื้อที่ดื้อต่อยาหลายตัว (multidrug resistance)
ข้อเสียของ ยาตัวนี้คือออกฤทธิ์ช้าทำให้อัตราการลดลงของเชื้อในเลือดช้าด้วย
ยาปฎิชีวนะอื่น ๆ
มักใช้ร่วมกับ Quinine ในการฆ่าเชื้อ P. falciparum
ที่ดื้อยา Chloroquine
Tetracyclines ชนิดที่ใช้มากคือ Doxycycline
Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า