Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobialdrugs) - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobialdrugs)
ยารักษาเชื้อรา
ชนิดที่ใช้ทาภายนอก (Topical)
Ciclopirox olamine
• ออกฤทธิ์กว้างมีฤทธิ์เป็นFungicidalต่อเชื้อCandidaalbicans
• หยุดการเจริญเติบโตของPityrosporumorbiculare(M.furfur)ได้
Imidazoles
• ออกฤทธ์ิกว้าง
• มผีลต่อแบคทีเรียและโปรโตซัวบางอย่าง
Tolnaftate
• เป็น Thiocarbamate ใช้รักษําโรคผิวหนังที่เกิดจํากเชื้อ Dermatophyte
• ใช้รักษาCandida ไม่ได้ผล
• ใช้รักษาTinea pedis ได้ผลประมาณ 80%
Sodium Thiosulphate
• ใช้รักษากล้ากเกลื้อนด้วยความเข้มข้น 20% ใช้ป้องกันเชื้อราที่บริเวณเท้า
Whitfield’s ointment
• Benzoicacidมีฤทธิ์เป็น Fungistatic
• ใช้ในการรักษาTineapedis
Selenium Sulphide
• ใช้รักษารังแคที่ศรีษะ และใชท้ ารักษาโรคเกลือนได้
ชนิดสำหรับใช้รับประทาน (Systemic)
Ketoconazole
• รักษา Dermatophytes,Candidal
• มีฤทธิ์ต่อ Gram positive cocci
• มีฤทธิ์ต่อต้าน Parasite
Itraconazole (sporal)
• เป็นยาต้านเชื้อราชนิด รับประทานตัวแรกของยาใน กลุ่ม Triazole
• มีขอบเขตในการออกฤทธิ์กว้าง
Griseofulvin
• เป็น Fungista tic ต่อเชื้อรา โดยเฉพาะพวก Dermatophytes ใช้รักษาเชื้อรา ของผิวหนังรวมทั้งผมและเล็บ
Fluoconazole (Diflucan)
• เป็นยาต้านเชื้อราชนิดรับประทาน ใช้ได้ผลในการ
รักษาการติดเชื้อรา
Nystatin
• มีผลต่อ Candida, Cryptococcus, Histoplasma และ Blastomyces
• ยาถูกดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
• จึงใช้เป็นยารับประทานรักษาเชื้อ Candida ในทางเดินอาหาร
Amphotericin B
•ยานีมีอันตรายในการใช้ค่อนข้างสูง
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobialdrugs)
จำแนกตามกลไกลการออกฤทธิ์
1.ยับยั้งการสังเคราห์ผนังเซลล์ (Cell wall)ของแบคทีเรียหรือกระตุ้นเอนไซม์ที่ทำลายผนังเซลล์ของเเบคทีเรีย
2.ออกฤทธิ์โดยตรงต่อเยื่อหุ้มเซลล์ของจุลชีพ (Cell membrane) มีผลต่อการซึมผ่าน ทำให้สารประกอบภายในเซลล์รั่วออกมาภายนอก
3.ยับยั้งการสร้างโปรตีน
4.ขัดขวางกระบวนการ เมตาบอลิซึม
5.ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
ขอบเขตการออกฤทธิ์
2.ยาที่มีผลต่อเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ
3.ยาที่มีผลต่อเเบคทีเรียที่ไม่ใช่ออกซิเจน
1.ยาที่มีผลต่อเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมบวก
4.ยาที่มีผลต่อเชื้อ Pseudomonasaeruginosa
1.Penicillins
การแบ่งกลุ่ม Penicillins
Penicillinase-resistant penicillins
• Methicillin
• Nafcillin
• Cloxacillin
Aminopenicillins :
• Ampicillin
• Amoxicillin
• Becampicillin
Antipseudomonas penicillins
• Carbenicillin
• Mezlocillin
• Piperacillin
Amidinopenicillins
• Mecillinam
Natural penicillins
• Penicillin G
• penicillin V
ปฏิกิริยาไม่พึงประสงค์ ของ Penicillins
อาการแพ้ยาหรือภาวะภูมิคุ้มกันไว (Hypersensitivity)
• ผื่นลมพิษ(มีลักษณะเป็น maculopapularrash)
• มีไข้ หลอดลมหดตัว หลอดเลทอดอักเสบ
• serum sickness , exfoliative dermatitis
• Stevens-Johnson syndrome และ anaphylaxis
anaphylaxis
• ความดันโลหิตต่ำหลอดลมหดตัว มีอาการหอบหืด อย่างรุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ารุนแรงเสียชีวิตได้
ประโยชน์ทางคลีนิกของ Penicillins
• เลือกใช้เป็นอันดับแรกในกลุ่มหญิงมีครรภ์ แต่ควรระวังอาการข้างเคียง เช่น ผื่นคัน อุจจาระร่วง เเละเลือดไหลหยุดได้ยาก
• ผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ penicillins ควรเลือกใช้ Erythromycinแทน
• ไม่ควรใช้ penicillins ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยากลุ่ม penicillins
• ระวังการใช้ Cephalosporin เพราะอาจเกิดการแพ้ยาได้
• เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก เพื่อรักษาโรคติดเชื้อแกรมบวกและแกรมลบ
2.Cephalosporins
Cephalosporins แบ่งเป็น
Second – generation
• เป็นยาที่มีฤทธิ์กว้างกว่ายารุ่นที่1 สามารถฆ่า เชื้อแกรมลบได้มากชนิดกว่า และได้ผลดีกว่า
•มีผลต่อเชื้อเเกรมบวกคล้ายๆกัน แต่ทนต่อ B - lactamase ได้ดีกว่า
• Cefaclor : 250 มก ทุก 8 ชั่วโมง
• Cefamandole , Cefuroxime
Third – generation
• มีผลออกฤทธิ์กว้างกว่า 2กลุ่มแรก และสามารถฆ่าเชื้อ Pseudomonas ได้ด้วย
• Cefotaxime
• cefoperazone
First – generation
• เป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีสำหรับเชื้อแกรมบวก
• สามารถฆ่าเชื้อแกรมลบได้บางชนิด เช่น E.coli ,
Klebsiella pneumoniae
• Cephalexin :1–4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
• Cephradine :1–4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
• Cephalothin , Cephapirin
Fourth – generation
• มีผลออกฤทธิ์กว้างและลึกที่สุด
• โดยเฉพาะต่อเชื้อแกรมลบทั้งที่ไวและดื้อยาใน 3 กลุ่มแรก และยากลุ่มอื่น
• Cefpirome
• Cefepime
อาการไม่พึงประสงค์
• การแพ้ยา (Hypersensitivity)
• คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
• IM : ปวดร้อนบริเวณกล้ามเนื้อ
• IV : อาจเกิดการอักเสบ
• ผลต่อไต ถ้าใช้ร่วมกับ Aminoglycoside จะเพิ่มความเป็นพิษต่อไต
ประโยชน์ทางคลีนิคของ Cephalosporin
• จัดเป็นยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์กว้างมีประสิทธิภาพในการรักษาสูง
•ไม่ควรเลือกใช้เป็นยาชนิดเเรกในการรักษาการติดเชื้อทั่วไปที่อาการไม่รุนแรง
•ควรระวังปฏิกิริยาระหว่างยาเหล่านี้กับแอลกอฮอล์ที่เรียกว่า Disulfiram–like reaction จึงไม่ควรดื่มเหล้าหรือเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
• ไม่ควรใช้ Cephalosporin ในผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยากลุ่ม Penicillins เพราะอาจเกิดการเเพ้ได้ เช่นเดียวกัน
ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์ (Cell wall synthesis
3.Carbapenems
• ยาตัวเเรกในกลุ่มนี้คือ imipenem
• imipenem เป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงและมีขอบเขตการทำลายเชื้อค่อนข้างกว้าง
• ฆ่าเชื้อแกรมลบและแกรมบวกทั้งชนิด aerobic และ anaerobic
•ใช้ได้ผลกับเชื้อพวก B-lactamase producing resistant strains
อาการไม่พึงประสงค์
• คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ความดันโลหิตลดลง หลอดเลือดดำบริเวณที่ฉีดอักเสบ ผิวหนังเป็นผื่น คัน และอักเสบ enzymes ตับเพิ่มขึ้น
•ในเด็กและผู้ป่วยโรคไตต้องมีการปรับขนาดยา
4.Monobactams
• ยากลุ่มนี้คือ astreonam ได้รับการสังเคราะห์มาเพื่อให้มีความคงทนต่อการทำลายของ B-lactamase
• มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อเฉพาะแกรมลบ anaerobic เ เท่านั้น
ข้อบ่งใช้
•ใช้รักษาโรคติดเชื้อแกรม negativebacilli ชนิด anaerobicในบริเวณทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ อวัยวะเพศ กระดูกและข้อกระดูก , soft tissue และในกระแสเลือด
•อาจใช้ได้ผลในโรคติดเชื้อ P. aeruginosa P. aeruginosa ที่ดื้อต่อยา P. aeruginosa หรือ tobramycin
อาการไม่พึงประสงค์
•เส้นเลือดดำบริเวณฉีดยาซ้ำๆ อักเสบ ผื่นคัน ท้องเสีย
5.Polymyxins : Polymixin B , Polymixin E
• ยากลุ่มนี้มีพิษต่อร่างกายสูงที่สุด เพราะทั้งในคนและแบคทีเรียต่างก็มีเยื่อหุ้มเซลล์ ซึ่งจะถูกทำลายโดยยาทั้งคู่
• ถ้าให้ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลำไส้อักเสบ และท้องเดินจากเชื้อแบคทีเรีย
• เนื่องจากยามีพิษสูงมากจึงไม่แนะนำให้ใช้ในโรคติดเชื้อที่ไม่รุนเเรงมาก
• ปัจจุบันมักใช้ topical use
อาการไม่พึงประสงค์
• เป็นพิษต่อไตสูงมาก อาจทำให้ไตพิการอย่างถาวรได้
• มีพิษต่อระบบประสาท ทำให้ชารอบๆปาก และอาจมรอาการเดินโซเซ
•เกิดอาการแพ้ยา
6.Aminoglycoside
• เป็นยาที่มีขอบเขตในการต้านจุลชีพค่อนข้างกว้าง
• ทำลายเชื้อโรคได้ด้วย
อาการไม่พึงประสงค์
ต่อไต
• มีฤทธิ์ทำลายกรวยไต และท่อไต
พิษต่อหู
• มีอาการวิงเวียนศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน มึนงง และหูหนวกได้ เนื่องจากยาทำลายเส้นประสาทสมองคู่ที่8 ที่ทำหน้าที่ควบคุมการทรงตัว หรืออาจทำลายเส้นประสาทหูที่เกี่ยวกับการได้ยิน
• ยับยั้งการสื่อประสาทระหว่างเส้นประสาทกับกล้ามเนื้อลาย ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ยไม่มีแรง หายใจไม่สะดวก ติดขัด
• การแพ้ยา ผื่นแดงคัน มีไข้
7.Chloramphenicol
• เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
• ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวก และกรัมลบ
อาการไม่พึงประสงค์
•กดการสร้างเม็ดเลือดเเดง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการซีด
• กดการทำงานไขกระดูก ทำให้เกิด aplastic anemia
8.Tetracycline
• เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
• ได้ผลทั้งกรัมบวก กรัมลบ หลายชนิด
อาการไม่พึงประสงค์
•รบกวนการสร้างกระดูกและฟัน
• ระคายเคืองทางเดินอาหาร มีอาการจุกเสียด แน่นท้อง คลื่นไส้
• Fanconi ‘ s syndrome
• พิษต่อตับ ทำให้เกิด fatty liver
9.Macrolides
• เป็นยายับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
• เหมาะสำหรับใช้ในกรณีผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้ยา penicillin มาก่อน
• ยานี้ได้ผลต่อเชื้อ Mycoplasma pneumonia , H. influenzae เชื้อคอตีบ และไอกรน
อาการไม่พึงประสงค์
• การแพ้ยา อาการเกิดไม่รุนแรง มีไข้ ผื่นแดงนูน
• Cholesstatic hepatitis เกิดเมื่อใช้ erythomycin estolate
• ระคายเคืองทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
10.Sulphonamide
• ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียทั้งกรัมบวก และกรัมลบ
• แต่ใช้ได้ดีกับโรคติดเชื้อที่ไม่รุนแรงและมีหนอง
อาการไม่พึงประสงค์
• ไข้ ผื่นคัน Stevens-Johnson
syndrome
• เกิดพิษต่อตับและไต
• Kernicterusในหญิงตั้งครรภ์ หรือทารกแรกเกิด
• อาการทางระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
11.Fluoroquinolones
• ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียได้ทั้งกรัมบวกกรัมลบ
• Norfloxacin , Ofloxacin , Ciprofloxacin
อาการไม่พึงประสงค์
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดศรีษะ และเวียนศรีษะ
ยากำจัดพยาธิ(Antihelmintics)
ยาออกฤทธิ์ยับย้งัไม่ให้พยาธิใช้กลูโคสจากhost หรือยับยั้ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของกลูโคสในพยาธิทำให้พยาธิตาย หรือไม่สามารถอยู่ใน host ต่อไปได้
• Mebendazole
• ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือนพยาธิ เส้นด้ายพยาธิแส้ม้า พยาธิปากขอและพยาธิแคปิลลาเรียได้ผลดี
• albendazole
• ยานี้มีประสิทธิภาพคล้ายมีเบนดา
โซล
• แต่ได้ผลดีในการรักษาโรคพยาธิสต รองจิย์ลอยด์ด้วย
ยาออกฤทธิ์ทาลายกระบวนการป้องกันตวั ของพยาธิ ทาลาย ผิวของพยาธิทาให้พยาธิถูกทาลาย โดยกลไกของ host
• Niclosamide
ยาขับพยาธิตัวตืด
• Diethylcarbamazine
• ยาน้ีมีฤทธ์ิฆ่าไมโครฟิลาเรียของพยาธิฟิลาเรียและอาจฆ่าพยาธิตัวแก่
ยาออกฤทธิ์ทาให้กล้ามเน้ือพยาธิเป็นอัมพาต ทาให้พยาธิไม่สามารถเกาะอยู่กับผนังลำไส้และ หลุดออกจากทางเดินอาหารเมื่อลาไส้บีบตัว ตามปกติ
• Pyrantel pamoate
• ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ Cholinesteraseทาให้กล้ามเน้ือ พยาธิเป็นอัมพาตแบบหดเกร็ง
• Piperazine citrate
• ทำให้พยาธิเป็นอัมพาตแบบอ่อนเปลี้ย
Thiavendazole
• ยาน้ีมีฤทธิขบัพยาธิไสเ้ดือนกลม พยาธิเส้นด้าย พยาธิแสม้า
ยาขับพยาธิใบไม้
Praziquantel
มะเกลือ Diospyros mollis
ประโยชน์ที่ใช้
• ขับพ ยาธิปากขอไดด้ีมาก พยาธิไสเ้ดือนกลม พยาธิแส้ม้าพยาธิเส้นด้าย พยาธิใบไม้ลำไส้และพยาธิตัวตืด
ฤทธิ์และอาการไม่พึงประสงค์
• พิษต่อตาจนถึงตามัวและบอดได้
ปากหาด Artocarpus lakoocha
• สารนี้มีฤทธิ์ขับพยาธิตืดวัวและตืดหมู
ยารักษาวัณโรค
ยาที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรค (Bactericidal
activity)
ยากลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญที่จะย่นระยะเวลาในการรักษาวัณโรคให้สั้นลง
Isoniazid
• selective ต่อเชื้อ Mycobacteruim tuberculosis
• bactericidal ต่อเชื้อที่กำลังแบ่งตัว แม้ว่าจะอยู่ใน macrophages หรือ extracellular sites
• อาจเกิดในผู้ป่วย ที่เสี่ยงต่อ meningitis
• isoniazid ยังเป็น competitive inhibitor ต่อ pyridoxine อีกด้วย
Rifampicin
• bactericidal
• เป็นยาที่มีฤทธิ์ฆ่าวัณดรคสูงเทียบเท่าหรืออาจเหนือกว่าไอโซไนอะซิด
ข้อควรระวัง
•ในผู้ป่วยโรคตับ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
Pyrazinamide
• first choice combination regimen
• bactericidal
อาการไม่พึงประสงค์
• Retinal damage
• Optic neuritis ทำให้ตามัว มองเห็นไม่ชัด
Streptomycin
• เป็นยาขนาดแรกที่ใช้ในการรักษาวัณโรค
• ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคในภาวะที่เป็นด่าง
อาการไม่พึงประสงค์
พิษต่อหู (Ototoxicity)
• ทำลายระบบควบคุมการทรงตัว (Vestibular system) ทำให้มีอาการหน้ามืด วิงเวียน คลื่นไส้ อาเจียน เสียสมดุลในการทรงตัว ถ้ามีอาการจะเสียอย่างถาวรและหูหนวก
พิษต่อไต (nephrotoxicity)
พิษต่อระบบประสาท (neurotoxicity)
• ชาตามปลายมือปลายเท้า หน้า ปวดศรีษะ อ่อนแรง ตาพร่า
ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อวัณโรค (Bacteriostatic activity)
• เมื่อใช้ร่วมกับยากล่มุแรกเป็นเวลานานพอ
• สามารถทาให้โรคหายขาดได้เช่นกัน
Thiacetazone
ใช้ร่วมกับโอโซไนอะซิดในการรักษาวัณโรคครั้งแรก
• acteriostatic
อาการไม่พึงประสงค์
• conjunctivitis , vertigo
• ถ้ารุนแรง erythema multiform , haemolytic anaemia , agranulocytosis , cerebral oedema , hepatitis
Ethambutol
• มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคค่อนข้างสูง
•ไม่นำมาใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถทนฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยาได้
อาการไม่พึงประสงค์
• nausea , vomiting , vertigo
PAS
•ฤทธิ์ค่อนข้างอ่อน
• bacteriostatic
อาการไม่พึงประสงค์
ยาต้านไวรัสเอชไอวีหรือยารักษาโรคเอดส์
Reverse transcriptase inhibitors
• ออกฤทธิยับยั้งการสร้าง DNAโดยยับยั้งเอนไซม์ reverse transcriptase
• zidovudine (AZT)
• didanosine (ddI)
• zalcitabine (ddC)
• stavudine (d4T)
•
• ยาเหล่านี้ ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดิน อาหาร
• การใช้ยาเหล่านีเดี่ยวๆ เชื้อจะดื้อยาได้ง่าย
Protease inhibitors
• ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดขวางขั้นตอน replication
• ทำให้ไม่อาจกลายเป็นไวรัสที่สมบูรณ์ได้
• Saquinavir
• Ritronavir
• Indinavir
• nelfinavir
ยาต้านไวรัส (Antiviral drugs)
Idoxuridine ( IDU )
• เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจก ตา ซึ่งเกิดจากเชื้อเฮอร์พีส
อาการไม่พึงประสงค์
• ทำให้เกิดการอักเสบ เมื่อใช้หยดหรือป้ายตา มีอาการบวมแดง คัน แสบ และ เคืองตา ยาจะกดการเจรญิ ของ Epithelial cell ท้าให้แผล หายช้า เมื่อใช้ไปน านๆ เชือเฮอร์ พีสอาจเกิดการดือยาได้
Vibarabin
• เป็นยาที่ให้ผลในการรักษาเชือไวรัสกลุ่ม เฮอร์พีสได้ดีมาก
• ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตารายที่มีกํารติดเชื้อทั่วตัว ซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิด และ ผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อาการไม่พึงประสงค์
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน และ อ่อนเพลีย ยานี้กด การทำงานของไขกระดูก และ อาจทำให้มีการอักเสบของ หลอดเลือดดำในบริเวณที่ให้ยา
Acyclovir
• เป็นยารักษาโรคติดเชื้อ เฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
• โดยเฉพาะไวรัสเริม และ อีสุกอีใส – งูสวัด
• ใช้ในการรักษาการติดเชือที่กระจกตา แผลที่ริมฝีปาก และ อวัยวะสืบพันธ์ุ สมองอักเสบ
อาการไม่พึงประสงค์
• อาจมีผลต่อการทำงานของตับไต อาการคลื่นไส้อาเจียน
ปวดท้อง ท้องเดิน
Interferon ( IFN )
• IFN เป็นโปรตีนที่เซลล์ที่ติดเชื อ ไวรัสสังเคราะห์ขึ้น
• มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติด เชือไวรัสติดเชือไวรัส
• สามารถยับยั้งการเพิ่ม จำนวนวนของเชื้ไวรัสได้หลายชนิด
อาการไม่พึงประสงค์
• Interferon syndrome คือมีอาการไข้ หนาวสั่น
• สามารถใช้ยาพาราเซตามอล ลดไข้ได้ อาการจะทุเลาลงเมื่อหยุดใช้ยา
ฤทธิ์ที่ไม่พึงประสงค์ของยาต้านจุลชีพ
ระบบประสาท
• มีไข้ ปวดศรีษะ ง่วงซึม วิงเวียน สับสน นอนไม่หลับ กระวนกระวาย และชัก
• cyclosporin และ imipenem
• isoniazid, ethambutol, cotrimoxazole, minocycline, meropenem
• ระบบประสาทส่วนปลายได้แก่ isoniazid ทำให้เกิดการเสื่อมสลาย
• chloramphenicol ทำให้ประสาทตาอักเสบ
หู
• cochlea จะทำให้เกิดการได้ยินลดลง มีเสียงอื้อในหูและหูหนวก ซึ่งอาจเกิดถาวรหรือเกิดชั่วคราว
• ส่วนยาที่เป็นพิษต่อ vestribule จะทำให้การทรงตัวเสียไป มีอาการวิงเวียน คลื่นไส้และอาเจียน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
• เกิดการเน่าตายของหลอดไตฝอย (tubular necrosis) เช่น
aminoglycosides, cephalosporin, sulfonamides
•เกิดการอักเสบของเซลล์ไต (interstitial cell nephritis) เกี่ยวข้องกับการเกิด immune complex ยาที่เป็นสาเหตุ เช่น penicillins, rifampicin, vancomycin, sulfonamides
ผิวหนังและการแพ้ยา
• ผิวหนังแดง คัน และผื่นขึ้น พวกที่ทำให้เกิดอาการพิษต่อผิวหนังโดยตรงซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการแพ้ยา
• rifampicin, isoniazid, ethambutol, thiacetazone, clindamycin
• penicillins และ cephalosporins
กลุ่มอาการ (syndrome)
• Disulfiram-like reaction
• Fanconi-like syndrome เกิดเนื่องจากใช้ tetracyclineที่เสื่อมสภาพ
ระบบทางเดินอาหาร
• เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ระคายเคืองทางเดินอาหาร
• ท้องเดิน
ตา
• ทำให้เกิดความคมชัดที่มองเห็นภาพลดลง ตาพราและมองเห็นภาพซ้อน
• อาจเกิดเนื่องจากประสาทตาอักเสบ หรือทำลายจอรับภาพ (retina)
• ethionamide, cyclosporin, chloramphenicol, hydroxychloroquine
• ethambutolยังทำให้ตาบอดสีเขียวได้
กระดูกเเละฟัน
• tetracycline รบกวนการเจริญเติบโตของกระดูกและฟัน การใช้ในเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 8 ปี อาจทำให้ฟันแท้มีสีน้ำตาล
•การใช้ fluoroquinolones ในเด็กทำให้มีอาการปวดกระดูกและปวดข้อได้
ระบบเลือด
• โลหิตจางเนื่องจากเม็ดเลือดแดงแตก (hemolytic anemia) อาจเกิดจาก ปฏิกิริยาการแพ้ยา หรือเกิดจากการขาดเอนไซม์ glucose-6-phosphate dehydroenase (G6PD) แล้วได้รับยาพวก oxidants
• กดการทำงานของกระดูก
ตับ
• ระดับเอนไซม์ aminotransferase ได้แก่ AST, ALT ในซีรั่มเพิ่มมากขึ้น
• ยารักษาวัณโรคยิ่งมีโอกาสเป็นอันตรายต่อตับได้มาก
โรคระบบทางเดินหายท่ีต้องได้รับยาต้านจุลชีพ
โรคไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย (bacterial rhinosinusitis)
โรคหูช้นั กลางอักเสบเฉียบพลัน (acute otitis media) ในผู้ป่วย
มีไข้มากกว่าหรือเท่ากับ 39 องศาเซลเซียส หรือ ปวดหูมาก
1.โรคคอหอยอักเสบจากเชื้อgroupAstreptococci(groupA streptococcalpharyngitis)ในผู้ใหญ่ถ้ามีอาการ 3ใน 4 ข้อดังนี้ ควรได้รับยาปฏิชีวนะ
• มีไข้สูงเกินกว่า 38 องศาเซลเซียส
• ไม่ไอ
• ต่อมน้ำเหลืองหน้าขากรรไกรบวมโต
• ต่อมทอนซิลบวมหรือมีตุ่มหนอง
ยาที่ใช้ฆ่าเชื้อโปรโตชัว
Metronidazole
• เป็นยาใน กลุ่ม nitroimidazloes ได้แก่ Tinidazole, ornidazole
• Metronidazole เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก สาหรับโรคติดเชื้อ
โปรโตซัว trichomoniasis, amebiasis และ grardiasis
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์
• คลื่นไส้อาเจียน ปากแห้ง รู้สึกมีรสโลหะในปาก เบื่ออาหาร ปวด ท้อง ตับอ่อนอักเสบ
• ปวดหัว วิงเวียน อารมณ์แปรปรวน เดินเซ ปลายประสาทอักเสบ ชัก
• เกิด disulfiram-like effects s เมื่อดื่มสุรา มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว หน้าแดง ปวดท้อง และอาจรู้สึกว่า รสชาดของสุราที่ดื่มผิดไปเมื่อใช้ยา
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
Mefloquine
ใช้เฉพาะการรักษา และป้องกันเชื้อ P.f ที่ดื้อต่อยา Chloroquine หรือ เชื้อที่ดื้อต่อยาหลายตัว (multidrug resistance)
Antifolate
ใช้ในการรักษามาเลเรียจากเชือที่ดื้อต่อยา Chloroquine
Primaquine Sulfate
• ป้องกันการเกิดไข้กลับ
• สามารถรักษา มาลา เรียที่เกิดจา กเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
• ใ ช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
ยาปฎิชีวนะอื่น ๆ
• Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
• มักใช้ร่วมกับ Quinine ในการ ฆ่าเชื้อ P. falciparum
ที่ดือยา Chloroquine
• Tetracyclines ชนิดที่ใช้มาก คือ Doxycycline
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
• ออกฤทธิ์ยับยังการสร้าง DNA และ RNA
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
ยาจะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
โรคระบบทางเดินหายท่ีไม่จำเป็นต้องได้รับยาต้านจุลชีพ
โรคไซนัสและเยื่อบุในจมูกอักเสบจากเชื้อไวรัส (viral rhinosinusitis)
โรคหูชั้นกลางอักเสบเฉยีบพลัน(acuteotitismedia)ในผู้ป่วยที่ไข้ น้อยกว่า39องศาเซลเซียสและปวดหูน้อยแต่อายุมากกว่า 6เดือน
โรคคอหอยอักเสบจากเชื้อ ไวรัส (viral pharyngitis)
โรคหวัด (common cold)