Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 แร่ดินเหนียว Clay Minerals - Coggle Diagram
บทที่ 2 แร่ดินเหนียว Clay Minerals
โครงสร้างของแร่ดินเหนียว
โครงสร้างการจัดเรียงผลึกของแร่ดินเหนียว ประกอบด้วยผลึกของแผ่นซิลิคาและแผ่นอลูมินา
การเรียงตัวของแผ่นเหล้านี้และวิธีการยึดเหนี่ยว (Bonding) ทําให้เกิดแร่ดินเหนียวต่างชนิดกัน
แผ่นซิลิคาหรือแผ่นเตตระฮีดรอล
(Silica or tetrahedral sheet)
แผ่นอลูมินาหรือแผ่นออกตะฮีดรอล (Alumina or octahedral sheet)
ประจุลบของแร่ดินเหนียว Negative Charge of Clay Mineral
แร่ดินเหนียวมีค่าประจุไฟฟ้าเป็น
ลบโดยธรรมชาติ
ถ้าประจุลบทั้งหมดในแผ่นอลูมินา คือ ไฮดรอกซิลและสองในสามของประจุบวกคืออลูมีเนียม แร่ดินเหนียวนี้ เรียกว่า กิ๊บไซท์ (Gibsite)
ถ้าแมกนีเซียมเข้าไปแทนที่อลูมีเนียมและประจุบวกทั้งหมดคือแมกนีเซียม แร่ดินเหนียวชนิดนี้ คือ บรูไซท์ (Brucite)
แร่ดินเหนียวที่สำคัญ
เกาลิไนท์(Kaolinite)
ฮอลลอยไซต์(Holloysite)
มอนต์มอริลโลไนต์(Montmorillonite)
อิลไลท์(Illite)
คลอไรต์(Chlorite)
การจำแนกชนิดแร่ดินเหนียว
ค่า Activity
เกาลิไนต์ 0.3-0.5
ฮอลลอยไซต์ (แบบมีน้า) 0.1
ฮอลลอยไซต์ (แบบไม่มีน้า) 0.5
มอนต์มอริลโลไนต์ 1-7
อิลไลต์ 0.5-1.3
น้ำเคลือบผิว Adsordeb water
ดินเหนียวในธรรมชาติจะมีน้ําเป็น
ส่วนประกอบ นั้นคือมีชั้นน้ําล้อมรอบ
แต่ละผลึกของแร่ดินเหนียว
น้ํานี้เรียกว่า น้ําเคลือบผิว
(Adsorbed water)
ชั้นคู่ดิฟฟิวเมื่อดินเหนียวสัมผัสกับน้ําที่มี ประจุเป็นลบ ก็จะมีการดึง ประจุบวกของน้ํา (ซึ่งก็คือ ไฮโดรเจน) และประจุบวกของ โลหะที่ละลายอยู่ในน้ําเข้ามา เคลือบที่ผิว แล้วจะก่อให้เกิด ฟิล์มของน้ํารอบอนุภาคของดิน เหนียว เรียกว่า ชั้นคู่ดิฟฟิว