Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ - Coggle Diagram
ยาต้านจุลชีพ
-
Antiviral drugs
1.Acyclovir
- เป็นยารักษาโรคติดเชื้อเฮอร์พีสที่ดีที่สุดตัวหนึ่ง
- โดยเฉพาะไวรัสเริม และ อีสุกอีใส – งูสวัด
- ใช้ในการรักษาการติดเชื้อที่กระจกตา แผลที่ริมฝีปาก และอวัยวะสืบพันธุ์ สมองอักเสบ
- ขี่ผึ้งป้ายตาขนาด 3 % ใช้ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง จนอาการทุเลา
- งูสวัดให ้ 500 มก. ทุก 4 ชั่วโมง นาน 7- 10 วัน
2.Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine
arabinoside )
- เป็นยาที่ให้ผลในการรักษาเชื้อไวรัสกลุ่มเฮอร์พีสได้ดีมาก
- ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตา รายที่ติดเชื้อทั่วร่างกาย ซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิด
3.Idoxuridine ( IDU )
- เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจกตา
- 0.5 % ชนิดป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน และป้าย 1 ครั้งก่อนนอน และ ควรใช้ยา
ป้ายตาต่อไปอีก 3 – 5 วัน หลังจากที่แผลหายแล้ว
4.Amantadine , Rimantadine และ
Tromantadine
- ยาจะยับยั้งการเข้าสู่เซลล์ของไวรัส โดยขัดขวางการเกาะติดของไวรัส และการ
ปลดปล่อยกรดนิวคลีอิคของไวรัสเข้าสู่เซลล์
- ยานี้จะใช้ได้ผลต่อเมื่อหลังจากติดเชื้อไวรัสแล้วไม่เกิน 72 ชั่วโมง
5.Interferon ( IFN )
- มีออกฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติดเชื้อไวรัสติดเชื้อไวรัส
- สามารถยับยั้งการเพิ่มจ้านวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด โดยไม่ท้าอันตรายต่อโฮสท์
เซลล์
2.Cephalosporins
First – generation
- เป็นยาที่ประสิทธิภาพดีสำหรับเชื้อแกรมบวก
- Cephalexin :1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
- Cephradine : 1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
- Cephalothin , Cephapirin
Second – generation
- เป็นยาที่ออกฤทธิ์กว้างกว่ายารุ่นที่ 1 สามารถฆ่ากรัมได้มากกว่า ผลได้ดีกว่า
- Cefaclor : 250 มก. ทุก 8 ชั่วโมง
- Cefamandole , Cefuroxime
Third – generation
- มีผลออกฤทธิ์มากกว่า 2 กลุ่มแรก และสามารถฆ่าเชื้อPseudomonas ได้ด้วย
- Cefotaxime
- cefoperazone
Fourth – generation
- มีการออกฤทธิ์ลึกที่สุด
- Cefpirome
- Cefepime
Antimalarial drugs
- Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
- Cinchonism ปวดศีรษะหูอื้อ ตาพร่า คลื่นไส้
อาเจียน ท้องเดิน
- Black water fever ผู้ป่วยปัสสาวะเป็นสีดำ
- Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
- ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
- ป้องกันการเกิดไข้กลับ
- สามารถรักษามาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
- ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
- ข้อเสียของยาตัวนี้ คือ ออกฤทธิ์ช้า ท้าให้อัตราการลดลงของเชื้อในเลือดช้าด้วย
- ปัจจุบันมีการใช้ Mefloquine ร่วมกับ Pyrimethamine เพื่อลดการดื้อยาและเพิ่ม
ประสิทธิภาพของยา
เป็นยาปฏิชีวนะชนิดแรกที่ได้จาก
- Penicillinium notatum
ปัจจุบันเชื้อที่นำมาผลิตยา
- Penicillinium notatum
- Penicillinium chrysogenum
ประโยชน์ทางคลีนิคของ Penicillins
- เป็นยาที่เป็นตัวเลือกลำดับแรก เพื่อรักษาโรคติดเชื้อกรัมบวม กรัมลบ
- เลือกใช้เป็นอันดับแรกในหญิงตั้งครรภ์ แต่ควรรระวังอาการข้างเคียง
- ผู้ที่แพ้ยา Penicillins ควรเลือกใช้ Erythromycin แทน
-
ANTI - HIV
-
Protease inhibitors
- ทำให้ไม่อาจกลายเป็นไวรัสที่สมบูรณ์ได้
3.Carbapenems
- เป็นยาตัวแรกในกลุ่มนี้คือimipenem
- imipenemเป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูง
- ฆ่าเชื้อแกรมบวกแกรมลบชนิดaerobic และ anaerobic
- ใช้ได้ผลกับเชื้อพวก B - lactamase producing resistant strains
4.Monobactams
- ยาที่ใช้ในกลุ่มนี้คือ astreonam ได้รับการสังเคราะห์มาเพื่อให้มีความคงทนแต่การทำลายของB-lactamase
- มีประสิทธิภาพในการทำลายเชื้อแกรมลบเท่านั้น
5.Polymyxins : Polymixin B , Polymixin E
- ยากลุุ่มนี้มรพิษต่อร่างกายสูง
- ถ้าใข้ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลำไส้อักเสบ
- เนื่องจากมีพิษสูงไม่แนะนำให้ใช้ในโรคที่ติดเชื้อไม่รุนแรง
- ปัจจุบันมักใช้ topical use
6.Aminoglycoside
- ยาที่ขอบเขตค่อนข้างกว้าง
- ทำลายเชื้อวัณโรคได้
- Streptomycin, Neomycin, sisomicin
- Kanamycin, Amikacin
- Gentamicin, tobramycin
7.Chloramphenicol
- ยาที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
- ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวกและ กรัมลบ
- แต่อาจออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียบางชนิดH. influenzae
8.Tetracycline
- ได้ผลทั้งเชื้อกรัมบวกและ กรัมลบ
- รüมทั้ง Rickettsiae และ Chlamydia
- Tetracyclin :1 – 2 กรัม แบ่งใĀ้ 4 ครั้ง
- Oxytetracyclin : 1 – 2 กรัม แบ่งใĀ้ 4 ครั้ง
- Doxycyclin : 100 มก. ทุก 12 ชั่üโมง
9.Macrolides
- เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการแพ้ยา penicillin มาก่อน
- ยานี้ได้ผลดีต่อเชื้อ Mycoplasma
pneumonia , H. influenzae เชื้อคอตีบและไอกรน
- เนื่องจากยากลุ่มนี้มีโอกาศดื้อยาได้บ่อยและเร็วมาก จึงควรใช้เมื่อยาอื่นไม่ได้ผล
- Erythromycin : 1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชม.
- oxitromycin : 150 มก. 1 x 2
10.Sulphonamide
- ใช้ได้ผลกัยการติดเชื้อที่ไม่รุนแรง และไม่มีหนอง
- Kernicterus ในหญิงตั้งครรภ์ หรือ
ทารกแรกเกิด
11.Fluoroquinolones
- ออกฤทธิ์ทั้งแกรมบวก แกรมลบ
- Norfloxacin , Ofloxacin , Ciprofloxacin
- อาการไม่พึ่งประสงค์ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดหัว
Antprotozoals
- เป็นยาในกลุ่ม nitroimidazloes ได้แก่ Tinidazole, ornidazole
- Metronidazole เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก สำหรับโรคติดเชื้อ
โปรโตซัว trichomoniasis, amebiasis และ grardiasis