Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธสิภาพต่อร่างกายทั่วไป ความผิดปกติทางระบบคุ้มกันเนื้องอก,…
พยาธสิภาพต่อร่างกายทั่วไป
ความผิดปกติทางระบบคุ้มกันเนื้องอก
ชนิดการอักเสบ
Chronic inflammation
กระบวนการอักเสบเรื้อรังหมายถึงการอักเสบที่เกิดขึ้นเป็นเวลานานเป็นสัปดาห์ หรือเป็นเดือน ลักษณะการเปลี่ยนแปลงในเนื้อเยื่อจะพบเซลล์อักเสบหลายๆชนิด มีการทําลายเนื้อเยื่อบางส่วน
พบการทําลายเนื้อเยื่อ (tissue destruction) เนื่องจากมีการหลั่งสารกระตุ้นจากเซลล์อักเสบชนิด ต่างๆ
ลักษณะของการอักเสบเรื้อรัง
พบการแทรกซึมของเซลล์อักเสบชนิด mononuclear cells ได้แก่ macrophages, lymphocytes และ plasma cells
พบกระบวนการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ มีการสรา้งเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันเข้ามาแทนที่ (connective tissue replacement)
Acute Inflammation
การอักเสบเฉียบพลันจะประกอบอาการหลัก 4 อาการ คือ ปวด (pain, dolor), บวม (swelling, tumor), แดง (redness, rubor) และร้อน (heat, calor)
กลไกลป้องกันการรุกลํ้าทําลายจากสิ่งแปลกปลอม
NON-SPECIFIC SYSTEM
การกําจัดสิ่งแปลกปลอมออกจากร่างกายโดยวิธีการง่ายๆ เกิดขึ้นเมื่อร่างกายได้รับสิ่งแปลกปลอม
SECOND LINE OF DEFENSE
เป็นกลไกภายในร่างกาย เช่น phagocytosis ซึ่งเป็นกระบวนการกําจัดแอนติเจน (เชื้อโรค)โดยเซลล์ phagocyte จะเป็นตัวโอบล้อมเชื้อโรค และกระบวนการอักเสบ
FIRST LINE OF DEFENSE
สารคัดหลั่ง (Secretion)
นํ้าลาย นํ้าตา mucous
เย!อืบุ(Mucous membrane)
Lysozyme
ผิวหนัง (Skin)
Gastric mucosa
SPECIFIC DEFENSE SYSTEM
เกิดขึ้นเมื่อร่ายกายไม่สามารถใช้วิธีnon-specific immune response กําจัดสิ่งแปลกปลอมนั้นออกไปได้ เซลล์ที่มีหน้าที่รบัผิดชอบในด้านนี้คือ lymphocytes
สิ่งแปลกปลอมในที่นีมีชื่อเรียกใหม่ว่า แอนติเจน (antigen) หรอือมิ มูโนเจน (immunogen)
Lymphocyte, Antibody
B lymphocyte (B cell; bursa of Fabricius or bonemarrow)
ทําหน้าที่ผลิตภูมิคุ้มกันชนิดสารนํ้าที่เรียกว่า แอนติบอดีโดยที! B cell จะถูกกระตุ้นด้วยแอนติเจน แล้วจึงเปลี่ยนเป็น plasma cells เพื่อสร้างแอนติบอดีจําเพาะต่อแอนติเจนนั้น
T lymphocyte (T cell; thymus) ทํางานรว่ มกับ B-cellมี 4 type
Cytotoxic (killer) T cell
Helper T cells
SupressorT cells
MomoryT cells
ภาวะภูมิคุ้มกันผิดปกติ
อาการอันไม่พึงปรารถนาซึ้งก่อใหเ้กิดขึ้นโดยระบบภูมิคุ้มกัน เช่น โรคภูมิแพ้หรือภาวะแพ้ภูมิตัวเอง โดยอาการเหล่านี้อาจสรา้งความไม่สบายตัว,การป่วยไข้ หรือในบางครงั้อาจทําให้เสียชีวิตได้
Type II : IgG-Mediated Cytotoxic Hypersensitivity
Type III : Immune Complex-Mediated Hypersensitivity
Type I : IgE-Mediated Hypersensitivity
Type IV : Cell-Mediated Hypersensitivity
การปลูกถ่ายอวัยวะ (Transplantation)
Graft : อวัยวะที่นํามาปลูกถ่าย
Autograft (Autologous graft): กราฟท์เนื้อเยื่อของผู้รับเอง
Xenograft (Xenogeneic graft): คนละ species
Allograft (Allogeneic graft): ผู้ให้และผู้รับอยู่ใน species เดียวกัน
Isograft (Syngeneic graft) : ผู้ให้มีพันธุกรรมตรงกับผู้รับ
Donor : ผู้ให้อวัยวะ
Recipient : ผู้รับ
ภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
Congenital immunodeficiency
ความผิดปกติของ Complement
ความผิดปกติของ B cell
ความผิดปกติของ phagocyte
ความผิดปกติของ T cell
ความผิดปกติในระบบ Adaptive immunity
ความผิดปกติของทั้ง B cell และ T cell
ความผิดปกติในระบบ Innate immunity
การสลัดกราฟท์(GRAFT rejection)
Hyperacute rejection พบในผู้ที่มีCytotoxic antibody ต่อ T lymphocyte ของผู้ให้ก่อนทําการปลูกถ่ายอวัยวะแล้ว พบหลังจากได้ทํา 1 ชั่วโมง
Chronic rejection
กระบวนการสลัดกราฟท์
Acute rejection WBC ในอวัยวะที่ปลูกถ่าย กระตุ้น T lymphocyte ของผู้รับ เกิดการกระตุ้น NK cell, Macrophage, B lymphocyte พบหลังจากได้ทํา 7-21 วัน
เกิดจากการที่ผู้รบัมีการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อ แอนติเจนบนเนื้อเยื่อของอวัยวะที่นํามาปลูกถ่ายให้
หลอดเลือดแดงแคบลง เกล็ดเลือดและ fibrin เกาะที่ผนังหลอดเลือด พบ IgM และ Complement ที!ผนังหลอดเลือดพบหลังจากทําได้เป็นปีๆ
นางสาวธิดารัตน์ โสภาพันธ์ ชั้นปีที่ 2
รหัสนักศึกษา 64120301032