Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Caesarean section - Coggle Diagram
Caesarean section
ชนิดของการผ่าตัดบริเวณมดลูก
การผ่าตัดแบบ low cervical cesarean section
low transverse cesarean section (Kerr incision) เป็นวิธีการผ่าตัดตามแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก
การผ่าตัดทำได้ง่าย การเย็บปิดแผลทำได้สะดวก
เสียเลือดจากการผ่าตัดน้อย
แผลที่
มดลูกมีโอกาส แตกได้ยากเมื่อตั้งครรภ์อีก
อถ้ามีการแตกก็จะเป็นการแตกชนิดไม่สมบูรณ์ มีโอกาสเกิดพังผืดได้น้อย
แผลผ่าตัดสวยงามและแข็งแรง
มารดาปวดแผลน้อยกว่าการผ่าตัดในแนวตั้ง
การผ่าตัดแบบ low vertical
cesarean section (Beck’s หรือ Kronig incision)
เป็นการผ่าตัดตามแนวตั้งที่ส่วนล่างของ
ผนัง มดลูก ก ตั้งแต่ตำแหน่งอย่างน้อย 2 ซม. เหนือ Bladder reflection ขึ้นไปในแนวดิ่ง
โดยการผ่าตัดชนิดนี้ความยาวของ
แผลผ่าตัดจะ มากหรือน้อยขึ้นกับขนาดของทารก
อาจเกิดการฉีกขาดของมดลูกส่วนล่างไปยัง
กระเพาะปัสสาวะ หรือคอ มดลูก หรือลงไปถึงช่องคลอดได้ง่าย
อาจมีการฉีกขาดไปถึงมดลูกส่วนบนทำให้เย็บปิดยาก
การผ่าตัดแบบ Classical incision เป็นการผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณส่วนบนของมดลูก ใกล้ ๆ กับยอดมดลูก
การผ่าตัดแบบ Inverted T-shaped incision
เป็นการผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลูกในแนวขวางแล้วทำ
คลอดทารก ออกได้ยากหรือทารกอยู่ในท่าผิดปกติจึงต้องผ่าตัดเพิ่มเติมเป็นรูปตัวทีกลับหัว
การผ่าตัดแบบ Cesarean hysterectomy หรือ Porro cesarean
section เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทาง
หน้าท้อง ตามธรรมดา การผ่าตัดแบบ Cesarean hysterectomy หรือ Porro cesarean section เป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทาง
หน้าท้อง ตามธรรมดา
ประเภทของการผ่าตัดคลอด
การผ่าตัดคลอดกรณีกําหนดล่วงหน้า (Elective cesarean section)
คือการผ่าตัดคลอดที่มีการวางแผนไว้ตั้งแต่
ใกล้กําหนด ครบคลอด 1-2 สัปดาห์ หรือเริ่มเข้าสู่ระยะคลอด
ข้อบ่งชี้ชนิดสมบูรณ์
ศีรษะของทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกรานของมารดา
ข้อบ่งชี้ชนิดอนุโลม
ทารกท่าก้น (Breech presentation)
มารดาเคยได้รับการผ่าตัดคลอด
มารดาไม่ต้องการคลอดทางช่องคลอด
การผ่าตัดคลอดกรณีไม่ได้กําหนดล่วงหน้าหรือฉุกเฉิน (Emergency cesarean section)
คือการผ่าตัดคลอดที่ไม่ได้วางแผน ล่วงหน้า ทําในกรณีที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด
การคลอดไม่ก้าวหน้า (Prolong labor)
ภาวะสายสะดือ
ถูกกด
สายสะดือย้อย
ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอดบุตรทางหน้าท้อง
ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดคลอดชนิดสมบูรณ์ (Absolutes indications)
การคลอดติดขัด (Mechanical distocia)
ภาวะรกเกาะต่ํา (Placenta previa)
ความผิดปกติของเชิงกรานหรือช่องทางคลอด
มะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลาม
มีการตั้งครรภ์ภายหลังตกแต่งปากมดลูกหรือช่องคลอด
ทารกอยู่ในภาวะFetal distress
ภาวะสายสะดือย้อย (Prolapsed cord)
การติดเชื้อรุนแรงที่ปากมดลูก
ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดคลอดชนิดอนุโลม (Relative indications)
เคยผ่าตัดที่ผนังมดลูกมาก่อน เช่นเคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (Previous cesarean section) เคยผ่าตัดเอาก้อนเนื้อ งอกในมดลูกออก (Myomectomy)
มีเลือดออกในระยะหลังของการตั้งครรภ์ ในกรณีรกลอกตัวก่อนกําหนด (Abruptio placenta)
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติบางกรณี ถ้าปล่อยให้คลอดทางช่องคลอดอาจก่อให้เกิดอันตราย
ทารกในท่าก้นที่
ศีรษะทารก แหงนหน้ามากเกินไป
ท่าก้นที่ใช้เท้าเป็นส่วนนํา
ทารกที่มีขนาดใหญ่และมารดาตั้งครรภ์เป็นครรภ์แรก
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ในท่าศีรษะ
โรคแทรกซ้อนทางสูติกรรมบางกรณี เช่นความดันโลหิตสูงชนิดรุนแรง (Severe pre-eclampsia)
โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรมบางกรณี เช่น มารดาเป็นเบาหวานและทารกมีน้ําหนักตัวมากกว่าปกติ (Macrosomia)
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นต่อมารดาและทารกจากการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ภาวะแทรกซ้อนขณะทําการผ่าตัด
เกิดการฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
เกิดการบาดเจ็บต่อทารกจากการผ่าตัดหรือจากการทําคลอดที่ยากในทารกแนวขวาง
เกิดการบาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลําไส้
เกิดการฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกไปจนถึงปากมดลูก ช่องคลอดและ Uterine vessels
ภาวะแทรกซ้อนจากยาระงับเจ็บหรือจากยาสลบ เช่น กดการหายใจ และความดันโลหิตต่ํา
ภาวะแทรกซ้อน
ทางวิสัญญี ได้แก่ สําลักอาหารและน้ําเข้าปอด กดการหายใจรายที่ใช้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะส่วนของ ร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนภายหลังการทําผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
เกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดออกภายในช่องท้องภายหลังการทําผ่าตัด
เกิดการอักเสบติดเชื้อภายในช่องท้องและเกิดหนองในอุ้งเชิงกราน
เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจ
เกิดการตกเลือดขึ้นภายหลังร่วมกับภาวะช็อคและต้องตัดมดลูก
ความหมาย
หมายถึงการคลอดของทารกที่อยู่ในมดลูกโดยผ่านแผลผ่าตัด
หน้าท้อง และรอยแผลผ่าตัดของมดลูก