Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypertensine disorder - Coggle Diagram
Hypertensine disorder
-
-
การป้องกัน
- การให้ยาแอสไพริน (aspirin) ขนาดต่ําๆ (60-80 มก.) อาจช่วยลดอุบัติการณ์ของ PIH ลงเล็กน้อย แต่ไม่มีผลชัดเจนต่อการตายปริกำเนิด ไม่แนะนําให้ใช้ป้องกันหญิงตั้งครรภ์ปกติทั่วไป แต่อาจเลือกให้เพื่อป้องกันในรายที่มีความเสี่ยงสูงเป็นรายๆ ไป
- การให้แคลเซียมเสริมระหว่างการตั้งครรภ์ รับประทานแคลเซียมกลูโคเนตวันละ 1.5-2 กรัม ในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ อาจช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิด PIH ลงเล็กน้อยหรือลดความรุนแรงลง โดยเฉพาะหญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคและกลุ่มที่ได้รับแคลเซียมในอาหารปริมาณน้อย หรือ มีความพร่องแคลเซียม
การพยาบาล
ระยะคลอด
Latent phase
นอนบนเตียง, วัด BP q 2 hr., ประเมินอาการปวดศีรษะ ตาพร่ามัว จุกแน่นใต้ลิ้นปี่, monitor FHR, U/C, ลูบหน้าท้องและฝึกการหายใจ
Active phase
วัด BP q 1 hr. หากไม่ stable วัดทุก 15 นาที, ดูแลให้ยากันชักหรือยาลดความดันโลหิต, FHR ผิดปกติควรรายงานแพทย์
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ โดยมีระดับค่าความดันโลหิต Systolic สูงมากกว่าหรือเท่ากับ140 mmHg หรือ ความดันโลหิต Diastolic สูงมากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg ขึ้นไป จากการวัดอย่างน้อย 2 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์อาจพบร่วมกับการมีโปรตีนในปัสสาวะหรือมีอาการบวมร่วมด้วย มักเกิดภาวะนี้ในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ โดยทั่วไปหมายถึง ภาวะความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (Gestational hypertension) ครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (Preeclampsia) และครรภ์เป็นพิษระยะชัก (Eclampsia)