Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นิติเวชสำหรับพยาบาล - Coggle Diagram
นิติเวชสำหรับพยาบาล
การตรวจบาดแผล
หลักการเก็บวัตถุพยาน
ปริมาณเพียงพอกับการตรวจพิสูจน์เก็บให้เร็วที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงอยู่ในลักษณะธรรมชาติหรือใกล้เคียงขณะตรวจพบ
-
-
บาดแผลฟกช้ำ (CONTUSIONS)
เกิดจากถูกบีบ หรือ กระทบ โดยวัตถุแข็งไม่มีคม ทําให้เส้นเลือดเล็กๆ ใต้ผิวหนัง หรอืในชั้นผิวหนัง ฉีกขาด ไม่มีการฉีกขาดของชั้นผิวหนัง มี2ชนิด บาดแผลฟกช้ำใต้ชั้นผิวหนัง
-
-
-
-
-
บาดแผลแทง Stab wound
ความลึกมากกว่า ความยาว เกิดจากวัตถุปลายเล็กหรือแหลมดันผ่านผิวหนังไป ตามความยาวของวัตถุ วัตถุอาจมีคมหรือไม่ก็ได้
-
การเปลี่ยนแปลงภายหลังตาย
-
3.Postmortem cooling
ปัจจัยที่มีผลคืออุณหภูมิขณะตาย
สัดส่วนเนื้อเยื่อร่างกาย – ไขมันเป็นฉนวน
พื้นที่ผิวต่อมวลศพ – คนผอมทารก
ถ่ายเทความร้อนดีกว่า ท่าที่ตาย เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มอุณหภูมิสิ่งแวดล้อม ลม วัตถุสิงรอบตัวที่สัมผัสศพ
1.Postmortem hypostasis
การตกลงสู่ที่ตํ่าของเลือด เกิดขึ้นทันที เริ่มสังเกตเห็น ที่30 นาทีถึง 2 ชั่วโมงหลังตายจะไม่เคลื่อนที่เมื่อผ่านไป 8 ถึง 12 ชั่วโมงปัจจัยที่มีผลคือปริมาณเลือด สีผิวผู้ตาย การเน่า ข้อควรระวังคือบาดแผลฟกช้ำการเคลื่อนย้ายศพ
2.Postmortem rigidity
หลังตายไม่มีระบบประสาทส่วนกลางมาควบคุมกําลังกล้าเนื้อ muscle tone กล้ามเนื้ออ่อนตัว flaccid ATP ลดลง Lactic acid มากขึ้น กล้ามเนื้อแข็งตัว กระบวนการเน่าทําให้กล้ามเนื้อกลับมาอ่อนตัวอีครั้งวิธีตรวจคือเก็บหลักฐานก่อนขยับศพเลือกขยับข้อต่อที่เล็กก่อน ตามลักษณะศพ ตามด้วยข้อใหญ่ ขยบั ใหไ้ด้ตาม range of motion
-
Supravitality
หลังตาย cell หรือ tissue แต่ละส่วนยังมีชีวิตอยู่ ตอบสนองต่อการกระตุ้น ขี้นอยู่กับความคงทนต่อการขาดออกซิเจนของเซลล์นั้น
Mechanical excitability
วิธีตรวจนิยมใช้ส่วนไม้เคาะบริเวณ biceps brachii หากตอบสนองกล้ามเนื้อจะหดตัวเป็นสันนนู แปลผล เกิดขึ้นภายใน 5 ชั่วโมง อาจใช้แรงหนีบด้วยมือ กรณีต้องตรวจ ณ ที่เกิดเหตุควรงอศอกไว้ระดับหนึ่ง เพื่อให้สังเกตได้ง่าย
-