Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บของทารกจากการคลอด (Birth injury), นางสาวณฐมล บัวโฮม รหัส…
การบาดเจ็บของทารกจากการคลอด (Birth injury)
Cephalhematoma
อาการแสดง
พบก้อนนูนหลัง 24 ชั่วโมง ไม่ข้าม Suture เป็นลักษณะการที่มีเลือดออกคั่งในชั้นระหว่างpericranium กับ skull
คลำพบก้อนนู่นอยู่บนกะโหลกศรีษะเมื่อใช้นิ้วกดจะไม่เป็นรอยบุ๋มหลังกด
ทารกอาจซีดเนื่องจากเสียเลือดมาก
ในกรณีที่เลือดออกมาก ทารกอาจซีดและช็อกได้
การดูแลรักษา
หายได้เองภายใน 2-3 สัปดาห์ บางรายอาจนานถึง 2 เดือน
การพยาบาล
1.สังเกตลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
ให้ทารกนอนตะแคงตรงข้ามก้อนโน
สังเกตอาการซีด
อธิบายให้มารดเข้าใจและงดการใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะระบายเลือดออก
สาเหตุ
1.ทารกบาดเจ็บที่ศรีษะ
จากการใช้เครื่องมือสูติศาสตร์ช่วยคลอดมีการฉีกขาดของหลอดเลือดและตกเลือด
Caput succedaneum
สาเหตุ
การเกิดบวมน้ำบริเวณใต้ชั้นผิวหนังของกะโหลกศรีษะ
เกิดจากหลอดเลือดบริเวณศีรษะถูกกด
ถูกบีบรัดโดยปากมดลูกเป็นเวลานาน
เกิดจากศรีษะทารกถูกกดขณะคลอด
อาการแสดง
พบได้ทันทีแรกเกิดโดยคลำพบก้อนบวมได้บริเวณ Occipito parietal region
รอยบวมข้ามรอยต่อของกระดูกกะโหลกศรีษะ
คลำขอบเขตได้ไม่ชัดเจน
ก้อนจะหายไปใน 2-3 วัน
หากใช้นิ้วกดจะพบรอยบุ๋ม
การพยาบาล
สังเกตลักษณะ ขนาด และการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
อธิบายให้มารดาเข้าใจถึงอาการที่เกิดขึ้น
Erb plasy
ได้รับอันตรายต่อส่วนบน คือ บริเวณลำคอ ใต้ต่อกระดูก ไหปลาร้า ที่ตำแหน่ง เส้นประสาทคู่ที่ C5-C6 มักเกิดเมื่อโน้ม คอขณะทำคลอดไหล่ จากการคลอดติดไหลจึงทำให้มีการดึง อย่างแรง ส่งผลทำให้เส้นประสาทกลุ่มนี้ได้รับบาดเจ็บ
สาเหตุ
1.เกิดเนื่องจากเส้นประสาท Brachial ถูกดึงหรือกด
คลอดท่าก้น
คลอดยากบริเวณแขนและไหล่
อาการและอาการแสดง
ประเมิน moto reflex พบว่าเสียไปใน ข้างที่บาดเจ็บ
2.มีอาการอ่อนแรงที่กล้ามเนื้อ deltoid
3.ทำให้แขนตกข้าง ลำตัว และแขนมีการหมุนเข้าด้านใน
ส่วนข้อมือและมีอยังขยับได้ปกติ
การพยาบาล
1.จัดทําของทารกให้เหมาะสม โดยการนอนหงาย จับแขนกางออก ให้ข้อศอก ตั้งฉากกับลำตัว ปลายแขนขนานกับลำตัวทางด้านศีรษะ ใช้ผ้าสอดไปใต้ลำตัวทารกและเหน็บปลายด้านหนึ่งไว้ใต้เบาะของทารก ปลายอีกด้านหนึ่งวางพาดบนปลายแขนข้างที่วางขนานกับศีรษะ เหน็บชายผ้าไว้ไม่ต้องเข้าเฝือก
2.ดูแลผ้าที่ Strap ไว้ให้เหมาะสม ไม่หลวมมาเกินไป หรือตึงจนเกิน ไป ผ้าที่ใช้ต้อง แห้ง สะอาด ต้องปลดชายผ้าออกทุกครั้งก่อนที่จะพลิกตะแคงตัวทารกหรือทำความสะอาด
3.ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวลและระมัดระวัง เมื่อพลิกตะแคงตัวหรืออุ้ม ใช้มือประคองบริเวณคอและไหล่ไม่ทำให้เกิดการกระทบกระเทือนเพิ่ม
4.จัดให้ทารกดูดนมมารดาในรายที่มีอาการอัมพาตเพียงเล็กน้อย โดยใช้ผ้าพัน แผล ชนิดปิดได้ พันแขนแบบไว้กับลำตัวชั่วคราวขณะให้นม
นางสาวณฐมล บัวโฮม รหัส 62102301039 กลุ่ม B3