Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobialdrugs), 76D71A33-A8D1-4ADE-812A-052CA3A94D09,…
ยาต้านจุลชีพ
(Antimicrobialdrugs)
ยาต้านจุลชีพ(Antimicrobialdrugs)
กลุ่มยาท่ีออกฤทธิต่อจุลชีพ
Antiparasitic
Antituberculosis
Antifungal
Antiprotozoa
Antiviral
Antimalarial
Antibacterial
ประเภทยาต้านจุลชีพ
จำแนกตามขอบเขตการออกฤทธิ์
mediumspectrum
sulfonamides โดยออกฤทธิต่อเชื้อแกรมบวกและแกรมลบเท่านั้น
narrowspectrum
penicillins โดยออกฤทธิ์ต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกเป็นหลัก
broadspectrum
tetracyclines,chloramphenicol,nitrofurans โดยออกฤทธิ์ต่อเชื้อ
แกรมบวกแกรมลบไวรัสโปรโตซัวและริกเกตเซีย
จำแนกประเภทยาต้านจุลชีพ
จําแนกตามฤทธิ์ต่อจุลชีพ
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย(bactericidal)
ยาท่ีออกฤทธิท่ีผนังเซลล์หรือเยื่อหุ้มเซลลข์องแบคทีเรีย
ออกฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย (bacteriostatic)
ยาที่ออกฤทธิ์ท่ีกระบวนการสร้างกรดนิวคลีอิคหรือการสังเคราะห์โปรตีนของแบคทีเรีย
จำแนกตามกลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งการสร้างโปรตีน
ทำให้เกิดการยับยั้งการสร้างโปรตีน
มีฤทธิยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ยับยั้งการทางานของไรโบโซม
Chloramphenicol,Tetracyclin,Macroride
ออกฤทธิโดยตรงต่อเยื้อหุ้มเซลล์ของจุลชีพ (Cell membrane) มีผล
ต่อการซึมผ่านทำให้สารประกอบภายในเซลล์รั่วออกมาภายนอก
Polymyxin , Amphotericin , ketoconazole
ยับยั้งการสร้างกรดนิวคลีอิก
ทำให้เซลล์ไม่สามารถสร้าง DNA ซึ่งจากเป็นต่อการเจริญเติบโตและการ
แบ่งตัวของแบคทีเรียจึงมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
Quinolone, sulfonamides,trimethoprim,isoniazid, Penicillins
ยับยั้งการสังเคราะห์ผนังเซลล์ (Cell wall) ของแบคทีเรีย หรือกระต้นุเอนไทม์ที่ทาลายผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
Cephalosporin
Vancomycin
Penicillin
bacitracin
ทำให้เซลล์สูญเสียสภาพที่จะดำรงชีวิตอยู่ได้
ขัดขวางกระบวนการเมตาบอลิซึม
ทาให้แบคทีเรียไม่สามารถเจริญเติบโตและแบ่งตัวได้
Sulphonamides , Trimethoprim
มีผลไปยับยั้งขบวนการเมตาบอลิซึมของกรดโฟลิค
ขอบเขตการออกฤทธิ์
1.ยาท่ีมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมบวก
penicillins, cephalosporins, macrolides, carbapenems, chloramphenicol, tetracyclines, cotrimoxazole, clindamycin, vancomycin
2.ยาท่ีมีผลต่อเชื้อแบคทีเรียชนิดแกรมลบ
cephalosporins รุ่นท่ี 2, 3, 4, macrolides, carbapenems, chloramphenicol, tetracyclines, cotrimoxazole, aminoglycoside, aztreonam และ fluoroquinolones
3.ยาท่ีมีผลต่อแบคทีเรียท่ีไม่ได้ออกซิเจน
cephalosporins รุ่นท่ี 3, 4, macrolides, clindamycin,
imipenem, chloramphenicol และ metronidazole
4.ยาท่ีมีผลต่อเชื้อPseudomonasaeruginosa
ซึ่งมักดื้อต่อยาต้านแบคทีเรียท่ีใช้โดยทั่วไปยาท่ีใช้ได้ผล cephalosporins รุ่นท่ี 3, 4
antipseudomanol penicillins เช่น ticarcillin, piperacilli
ประเภทยาต้านแบคทีเรียจำแนกตามสูตรโครงสร้าทางเคมี
1.B-lactam antibiotics
penicillins,cephalosporins,carbapenems,monobactam
11.chloramphenicol
2.tertracyclins
Minocycline
tetracycline,doxycyclin
10.rifamycin
3.aminoglycosides
gentamicin,kanamycin,streptomycin
9.nitrofurans
nitrofurantoin,furazolidine
4.sulfonamides
sulfadiazine,sulfamethoxazole
8.polypeptides
polymicin B, colistin (polymixin E),vancomycin
5.quinolones
nalidixicacid,norfloxacin,ciprofloxacin,ofloxacin
7.lincomycins
lincomycin,clindamycin
6.macrolides
erythromycin,roxithromycin
ยารักษาวัณโรค
1.ยาที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรค (Bactericidal
activity)
Streptomycin
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคในภาวะที่เป็นด่าง ซึ่งมักเป็นเชื้อที่อยู่
นอกเซลล์
เป็นยาขนานแรกที่ใช้ในการรักษาวัณโรค
bactericidal
Pyrazinamide
first choice combination regimen
bactericidal
Rifampicin
เป็นยาที่มีฤทธิ์ฆ่าวัณโรคสูงเทียบเท่าหรือ อาจเหนือกว่า
ไอโซไนอะซิด
Ethionamide
bactericidal
ใช้ร่วมกับยาอื่น เพื่อป้องกัน การดื้อยาของเชื้อ
Isoniazid
bactericidal ต่อเชื้อที่กำลังแบ่งตัวแม้ว่าจะอยู่ใน
macrophages หรือ extracellular sites
อาจให้ในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อ meningitis
selective ต่อเชื้อ Mycobacteruim tuberculosis
2.ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อวัณโรค (Bacteriostatic activity)
Ethambutol
ไม่นำมาใช้อย่างแพร่หลายเนื่องจากผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถทน
ฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ของยาได้เภสัชจลนศาสตร์
bactericidal
มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรคค่อนข้างสูง
PAS
แต่เมื่อใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดพบว่าให้ผลการรักษาดี
bacteriostatic
ฤทธิ์ค่อนข้างอ่อน
Thiacetazone
ใช้ร่วมกับไอโซไนอะซิดในการรักษาวัณโรคครั้งแรก
bacteriostatic
Cycloserine
ยาที่ใช้ในโรคติดเชื้อโปรโตชัวAntiprotozoals
trichomoniasis จากเชื้อ Trichomonas vaginalis
Toxoplasmosis จากเชื้อToxoplasma gondir
Giardiasis เกิดจากเชื้อ Giardia lamblia
pneumocystosis หรือ pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
โรคบิด (amediasis) เกิดจากเชื้อ Entamoeda histolytica
Metronidazole
เป็นยาในกลุ่ม nitroimidazoesได้แก่Tinidazole,ornidazole
Metronidazole เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก สาหรับโรคติดเชื้อ
โปรโตชัว trichomoniasis, amebiasis และ grardiasis
Antithelminticsยาถ่ายพยาธิสำหรับคน
กลไกการออกฤทธิ์ของยาแบ่งได้3แบบ
ยาออกฤทธิ์ยับยั้ง ไม่ให้พยาธิใช้กลูโคสจาก host หรือยับยั้ง กระบวนการเปลี่ยนแปลงของกลูโคสในพยาธิทาให้พยาธิตาย หรือไม่สามารถอยู่ใน host ต่อไปได้
Mebendazole
albendazoleบ
ยาออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเน้ือพยาธิเป็นอัมพาต ทำให้พยาธิไม่สามารถเกาะอยู่กับผนังลำไส้และ หลุดออกจากทางเดินอาหารเมื่อลาไส้บีบตัว ตามปกติ
Piperazine citrate
Pyrantel pamoate
ยาออกฤทธิ์ทาลายกระบวนการป้องกันตัวของพยาธิ ทำลาย ผิวของพยาธิทำให้พยาธิถูกทำลาย โดยกลไกของ host
Niclosamide
Diethylcarbamazine
ยาขับพยาธิตัวกลมในลำไส้
Mebendazole
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้ง การนำกลูโคสจาก host มาใช้ทำ ให้ไม่มีพลังงานเพื่อการอยู่รอดและ สืบพันธุ์
เป็นอัมพาตและตาย
ยับยั้ง การสังเคราะห์ microtubule ใน
เซลผิวหนังและลำไส้ของพยาธิตัวกลม
ถูกกำจัดออกจากทางเดิน อาหารจนหมด หลังการรับยาประมาณ 3 วัน
ประโยชน์ที่ใช้
ยานี้มีฤทธิ์ขับพยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า พยาธิปากขอและ พยาธิแคปิลลาเรียได้ผลดี
รูปแบบของยา
เม็ดสาหรับเคี้ยว ขนาด 100 มก.
ยาน้ำแขวนตะกอน ขนาด 100 มก./5 มล.
ชื่อการค้า เช่น Danaben R , Fugacar R
Albendazole
ประโยชน์ที่ใช้
แต่ได้ผลดีในการรักษาโรคพยาธิสตรองจิย์ลอยด์ด้วย
ยานี้มีประสิทธิภาพคล้ายมีเบนดา
โซล
กลไกการออกฤทธิ์
ปริมาณ glycogen ที่สะสมไว้ลดลง
พยาธิหยุดการเคลื่อนไหวและตาย
ยับยั้ง การนากลูโคสจาก host มาใช้
Pyrantel pamoate(combantrin)
ฤทธิ์ต่อพยาธิ
ยามีฤทธิ์ต่อพยาธิปากขอไส้เดือน
เส้นด้าย
กลไกการออกฤทธิ์
ยับยั้งneuromusculartransmission
ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ Cholinesteraseทาให้กล้ามเน้ือ พยาธิเป็นอัมพาตแบบหดเกร็ง
Piperazine citrate
ประโยชน์ท่ีใช้
ยาน้ีมีฤทธ์ิขับยาธิไส้เดือนกลม และ
พยาธิเส้นด้าย
กลไกการออกฤทธ์ิ
ทำให้พยาธิเป็นอัมพาตแบบออ่นเปลี้ย
และถูกขับออกจากทางเดินอาหารโดยการ
บีบตัวของลำไส้
ยับยังฤทธิ์ของacetylcholineท่ีกล้ามเน้ือ ของพยาธิ
มีประโยชน์มากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีท่ี มีพยาธิจานวนมากจนอาจทำให้ลำไส้อุดตัน เพราะลดอันตรายจากการเคลื่อนที่ของพยาธิ
Thiabendazole
ประโยชน์ที่ใช้
ยาน้ีมีฤทธิขับพยาธิไส้เดือนกลม พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า
เนื่องจากยามีผลข้างเคียงมาก จึงใช้แต่การรักษาโรคท่ีเกิดจากพยาธิสตรองจิย์ ลอยด์ทริคิเนลลาและโรคผิวหนังท่ีเกิดจากตัวของพยาธิปากขอของสัตว์ (cutaneous larva migrans)
กลไกการออกฤทธ์ิ
ยับยั้งการสร้างmicrotubuleและขัดขวางการนำกลูโคสจากhostมาใช้
ยามีผลต่อพยาธิตัวแก่ ตัวอ่อนและป้องกันการเจริญของไข่
มีฤทธิ์ยับยั้งenzyme fumarate reductase ใน mitochondria ของพยาธิ
ยาขับพยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ
Diethylcarbamazine
ยาน้ีมีฤทธ์ิฆ่าไมโครฟิลาเรียของพยาธิฟิลาเรียและอาจฆ่าพยาธิตัวเเก่
กลไกการออกฤทธิ์
พยาธิถูกทำลายโดยตับและกระบวนการphagocytosis
ยาน้ีมีฤทธิ์ฆ่าพยาธิตัวแก่แต่กลไกยังไม่ทราบแน่ชัด
ยามีฤทธิ์ฆ่าmicrofilariaในกระแสเลือดโดยลดการทางานของกลา้มเน้ือและ ทำให้ผิวของmicrofilaria เปลี่ยนไป
ยาขับพยาธิตัวตืด
Niclosamide
ประโยชน์ที่ใช้
ยานี้มีฤทธ์ขับพยาธิตืด วัวพยาธิตือหมู และพยาธตืดแคระ
เป็นยาอันดับแรกในการรักษาโรคพยาธิตัวตืด เกือบทุกชนิด
กลไกการออกฤทธิ์
มีผลต่อผิวของพยาธิ ทาให้ส่วนหัวของพยาธิหลุด ออกจากลาไส้ทั้งส่วนหัวและ ปล้อง
บางส่วนถูกย่อยสลาย ไม่สามารถที่จะบอกชนิดของตัวตืดได้
ยับยั้ง oxidative phosphorylation ในไมโตคอนเดรียของพยาธิ
พยาธิถูกขับออกโดยการบีบตัวของลำไส้
ยับยั้งการนาเอากลูโคสจาก host มาใช้
ยาขับพยาธิใบไม้
มะเกลือ(Diospyros mollis)
ขับพยาธิปากขอได้ดีมาก พยาธิไส้เดือนกลม พยาธิแส้ม้า พยาธิเส้นด้ายพยาธิใบไม้ลำไส้และพยาธิตัวตืด
ขนาดและวิธีใช้
ให้คั้นผลมะเกลือสด
เตรียมจากมะเกลือในขนาด1ผลต่ออายุ1ปีแต่ไม่เกิน25ผลหรือให้สารสกัดมะเกลือขนาด50มก./กก
รับประทานเวลาท้องว่างอาจเป็นเวลาเช้ามืดและงดอาหารเช้า
ปวกหาด(Artocarpus lakoocha)
สารนี้มีฤทธิ์ขับพยาธิตืดวัวและตืดหมู
ผงปวกหาดได้จากการเคี่ยวแก่นมะหาดกับน้ำจนเกิดฟองแล้วช้อนฟองขึ้นมาทิ้งให้แห้ง
Praziquantel(Biltricide)
พยาธิตืดหมู
พยาธิใบไม้ในลำไส้
พยาธิตืดหมูตัวอ่อนใต้ผิวหนัง
พยาธิใบไม้ในตับ
พยาธิตัวอ่อนอยู่ในสมอง
Antifungals
ชนิดที่ใช้ทาภายนอก(Topical)
Ciclopirox olamine
หยุดการเจริญเติบโตของPityrosporumorbiculare(M.furfur)ได้
รักษา
Tinea cruris
Tinea pedis
Tinea corporis
tinea versicolor
มีใช้ในรูปของ 1% Cream เช่น Batrafen R
Cutaneous candidiasis
ออกฤทธิ์กว้าง มีฤทธิ์เป็น Fungicidal ต่อเชื้อ Candida albicans
Imidazoles
มีผลต่อแบคทีเรียและโปรโตซัวบางอย่าง
Clotrimazole, econazole และ Miconazole
ออกฤทธ์ิกว้าง
Tolnaftate
ในรายที่มีขุยหนาๆ ผลการรักษาจะไม่ดี ต้องใช้ 10% Salicylic ointment ร่วมด้วย
ใช้รักษา Tinea pedis ได้ผลประมาณ 80%
ใช้รักษา Candida ไม่ได้ผล
มีใช้ในรูปของ 1% Ointment และ Solution
เป็น Thiocarbamate ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อ Dermatophyte
Sodium Thiosulphate
ใช้ได้ไม่เกิน 2 สัปดาห์
ใช้รักษาเกลือนด้วยความเข้มข้น20% ใช้ป้องกันเชื้อราที่เท้าในบริเวณสระน้ำ
เป็นผลึกใสไม่มีกลิ่น ละลายได้ดีในน้ำแล้วเสื่อมสภาพได้ง่าย
โดยใช้ความเข้มข้น 10% ในน้ำล้างเท้า Sodium thiosulphate
สูตรเคมีคือ Na2 S2 O2 5H2 O
เป็นสารที่ไม่มีพิษถ้ารับประทานเข้าไปมาก ๆ มีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Whitfield’s ointment
Benzoic acid มีฤทธ์ิเป็น Fungistatic
Salicylic acid เป็น Keratolytic ซึ่งทาใหช้ นั้ Keratin
หลุดลอกออกไปเร็วขึ้นมีผลให้เชื้อราที่อาศัยอยู่ในKeratinถูก กำจัดไปด้วย
Benzoic acid + Salicylic acid
มักใช้ในการรกัษาTineapedis
Selenium Sulphide
ใช้สระผมรักษารักษารังแคที่ศีรษะ และใช้ทารักษาโรคเกลือนได้
ดูดซึมได้ถ้าผิวหนังอักเสบหรือเป็นแผล
เป็นผงสีส้มหรือน้ำตาลแดงมีกลิ่น Hydrogen sulphide อ่อน ๆ ไม่ละลายในน้ำและ Organ ic solvent 2.5%
มีพิษมากถ้ารับประทานเข้าไป
สูตรเคมีคือ SeS2
มีอาการเบื่ออาหาร อาเจียน ซีด และตับเสียได้
ชนิดสำหรับใช้รับประทาน(Systemic)
2.Griseofulvin
ยานี้มีใช้ในรูปของยาเม็ด ขนาด 125, 250 และ 500 มก.
เป็น Fungista tic ต่อเฉพาะพวกเชื้อรา Dermatophytes ใช้รักษาเชื้อรา ของผิวหนัง รวมทั้ง ผมและเล็บ
3.Ketoconazole
มีฤทธิ์ต่อ Gram positive cocci
มีฤทธิ์ต่อต้าน Parasite
Plasmodium falciparum ทั้งที่ Sensitive และ
Resist ต่อ Chloroquine
Leishmania tropica
รักษา Dermatophytes, Candidal
1.Nystatin
ยาถูกดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
จึงใช้เป็นยารับประทานรักษาเชื้อ Candida ในทางเดินอาหาร
มีผลต่อ Candida, Cryptococcus, Histoplasma และ Blastomyces
4.Itraconazole (sporalR)
มีขอบเขตในการออกฤทธิ์กว้าง
ใช้ได้ผลในการรักษา
Yeast
Candida species
Aspergillus species
Dermatophytes
เป็นยาต้านเชื้อราชนิด รับประทานตัวแรกของยาในกลุ่ม Triazole
5.Fluoconazole
การติดเชื้อแคนดิดาในช่องคลอดอาจให้เพียงครั้งเดียว
การรักษา Cryptococcal memingitis อาจต้องให้
ติดต่อกันนาน 6-8 สัปดาห์
ขนาดที่ใช้ในการรักษาและระยะเวลาในการรักษาขึ้นอยู่ กับชนิด ของเชื้อรา
ยาแคปซูล ขนาด 50 และ 150 มก.
ใช้ได้ดีกับการรักษาการติดเชื้อราในผู้ป่วยโรคเอดส์
ยาทาความเข้มข้น2มก./มล.
เป็นยาต้านเชื้อราชนิดรับประทานใช้ได้ผลในการ
รักษา การติดเชื้อรา
6.Amphotericin B
เนื่องจากยาออกฤทธิ์โดยจับกับsterolsซึ่งเป็นส่วนประกอบส้าคัญของเยื่อหุ้มเซลล์
ความสามารถในการซึมผ่านของของเหลวผ่านเซลล์เพิ่มขึ้น
ยานีมีอันตรายในการใช้คอ่นข้างสูง
ยามีผลในการทำลายเชื้อรา
Candida sp.
Blastomyces dermatitidis
Coccidioides immitis
Cryptococcus sp.
Histoplasma capsulatum
Aspergillus sp.
ต้องป้องกันไม่ให้ยาถูกแสงสว่าง
ไม่ใช้ Saline Solution เนื่องจากตัวยา อาจจับกับเกลือโซเดียมท้าให้หมดฤทธ์ได้
มีเฉพาะในรูปขอยาีดขนาด 50 มก./
มล.
ควรให้ยานี้โดยหยดผสมในน้ำเกลืออย่างช้าๆให้ผสมใน Dextrose in water
ยาต้านไวรัส
(Antiviral drugs)
2.Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
เป็นยาที่ให้ผลในการรักษาเชื้อไวรัสกลุ่ม เฮอร์พีสได้ดีมาก
ในรายที่เป็นแผลที่กระจกตารายที่มีการติดเชื้อทั่วตัวซึ่งมีอาการรุนแรงโดยเฉพาะในทารกแรกเกิด และ ผู้ป่วยที่มีระบบภูมิคุ้มกันบกพร่อง
3.Idoxuridine ( IDU )
เป็นยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจกตา ซึ่งเกิดจากเชื้อเฮอร์พีส
4.Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
โดยให้รับประทานทันทีขณะที่มีการระบาดหรือเมื่อไปสัมผัสกับผ้ปู่วย
ยาจะออกฤทธิ์ป้องกันได้ทันทีและสามารถป้องกันการติดเชื้อได้
เป็นสารสังเคราะห์ที่ใช้ป้องกัน และ รักษาไข้หวัดใหญ่ type A
5.Interferon ( IFN )
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติดเชื้อไวรัสติดเชื้อไวรัส
สามารถยับยั้ง การเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด โดยไม่ท้าอันตรายต่อโฮสท์เซลล์
IFN เป็นโปรตีนที่เซลล์ที่ติดเชื้อไวรัสสังเคราะห์ขึ้น
1.Acyclovir
รูปแบบยาขนาดและวิธีการใช้
ยาเม็ด 200 และ 400 มก. ใช้ในรายที่ติดเชื้อเริมแสดงอาการครั้งแรกนานไม่เกิน 5 วัน ให้ 200 มก. วันละ 5 ครั้งเป็นเวลา 5 –10 วัน จะช่วยลดระยะเวลาของโรค อาการทุเลาเร็วขึ้น และ ระยะเวลาการเป็นซ้ำห่างออกไป
งูสวัดให้ 500 มก. ทุก 4 ชั่วโมงนาน 7- 10 วัน ตั้งแต่เริ่ม มีอาการจะช่วยลด อาการเจ็บปวด และท้าให้ทุเลาเร็วขึ้น
ขี้ผึ้งป้ายตาขนาด 3 % ใช้ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมงจนอาการทุเลา และควรป้ายตาต่ออีก 1 สัปดาห์ใช้เวลาประมาณ 15 วัน
ยาต้านไวรัสเอชไอวี
ANTI-HIV
Reverse transcriptase inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง
DNAโดยยับยั้งเอนไซม์ reverse transcriptase
stavudine (d4T)
lamivudine (3TC)
zalcitabine (ddC)
Mevirapine
didanosine (ddI)
Delavirdine
zidovudine (AZT)
efavirenz
การใช้ยาเหล่านีเดี่ยวๆ เชื้อจะดื้อยาได้ง่าย
ยาเหล่านี้ถูกดูดซึมได้ดีจากทางเดินอาหาร
จึงใช้ร่วมกับยาต้านไวรัสเอชไอวีชนิดอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันหรืออยู่ในกลุ่ม protease inhibitors
Protease inhibitors
ยาเหล่านี้ส่วนใหญ่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหารได้ดีและใช้เป็นยาเดี่ยวได้(ยกเว้นsaquinavir)
แต่จะให้ผลการรักษาดีข้ึนถ้าใช้ร่วมกับยายับยั้งเอนไซม์ Reverse transcriptase
การใช้ยาร่วมกัน 3ชนิด
ทำให้ไม่อาจกลายเป็นไวรัสท่ีสมบูรณ์ได้
ให้ประสิทธิผลสูงกว่าการใช้ยาร่วมกันเพียง2ชนิด
ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดวางขั้นตอน
replication
Saquinavir
Ritronavir
Indinavir
nelfinavir
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial drugs)
ตัวเมียเป็นพาหะ
Plasmodium sp. ที่ทำให้เกิดโรคในคนมีสี่ชนิด
P.vivax
P. ovale
P.falciparum
P. malariae
เชื้อจะถูกนำมาสู่คนโดยยุงก้นปล่อง(Anopheles sp.)
ยาที่ใช้รักษามาลาเรีย
Mefloquine
กลไกการออกฤทธ์ิ
เมื่อให้ครั้งเดียวเมโฟลควินสามารถกำจัดเชื้อมาเลเรียในเลือดได้รวดเร็วรวมทั้งเชื้อที่ดื้อต่อ Chloroquineด้วย
สามารถรักษามาลาเรียจาก P. falciparum
ไม่ได้จับกับDNA
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ใช้เฉพาะการรักษา และป้องกันเชื้อ P.f ที่ดื้อต่อยา Chloroquine หรือ เชื้ออที่ดื้อต่อยาหลายตัว (multidrug resistance)
ยาปฎิชีวนะอื่นๆ
มักใช้ร่วมกับ Quinineในการฆ่าาเชื้อ P. falciparum ที่ดื้อยา Chloroquine
Tetracyclines ชนิดที่ใช้มาก คือ Doxycycline
Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
3.Primaquine Sulfate
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
ป้องกันการเกิดไข้กลับ
ใช้ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
สามารถรักษามาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
Antifolate
Trimethoprim
Fansidar (Sulfadoxine 500 มก.+ Pyrimethamine 25 มก.)
Pyrimethamine
กลไกการออกฤทธ์ิ
ใช้ในการรักษามาเลเรียจากเชื้อที่ดื้อต่อยา Chloroquine
มีข้อสังเกตว่า Sulfonamide จะใช้ได้ผลกับเชื้อ P. falciparum เท่านั้นจะไม่ได้ผลกับ P. vivax
เมื่อน้ำยาSulfadoxineผสมกับPyrimethamineยา2ชนิดจะออกฤทธิ์ยับยั้ง การทำงานของเอนไซม์ DHFR คนละขันตอนกันจึงเสริมฤทธิ์กัน
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
นอกจากนี้ผลฆ่าเชื้อมาเลเรียชนิดอื่นก็ได้ผลดี
ยาจะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
ยานี้ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ P. f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine ได้ผลดี
เนื่องจากยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากจึงไม่มีผลต่อการป้องกัน การติดเชื้อ
สกัดมาจากสมุนไพรจีนจากต้นชิงเฮา
1.Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
กลไกการออกฤทธ์ิ
ยาสามารถจับกับ DNA ท้าให้ไม่มีการสร้างโปรตีน
มีฤทธิ์สูงต่อP.fและเป็นgametocideต่อP.v,P.o,P.m
Quinine เป็น alkaloid ได้จากเปลือกต้นCinchona
ประโยชน์ที่ใช้ในการรักษา
จะใช้ได้ผลดีในการรักษาเชื้อ P.f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine
Quinine ยังเป็นยา first choice ในผู้ป่วยซึ่งเป็นมาลาเรียจากเชื้อ P. f ระยะเฉียบพลันรุนแรง ซึ่งอาจจะมีอาการทางสมองด้วย
Quinineเมื่อใช้ร่วมกับTetracyclinesหรือPyrimethamineหรือยาในกลุ่ม
Sulfonamides เช่น Sulfadoxine
เกิดจากเชื้อ sporozoa ใน genus Plasmodium
A6480110นางสาวภัทรศยา สำเภา