Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาต้านจุลชีพ Antimicrobial drugs, ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial),…
ยาต้านจุลชีพ
Antimicrobial drugs
ประเภทยาต้านแบคทีเรีย
จำแนกตามสูตรโครงสร้างทางเคมี
1.Beta-lactam antibiotics :
penicillins
cephalosporins
carbapenems
monobactam
Penicillins
เป็นยาที่เลือกใช้เป็นอันดับแรก
ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่มีประวัติการแพ้ยากลุ่ม Penicillins
เลือกใช้เป็นอันดับแรกในหญิงตั้งครรภ์ ควรระวังอาการข้างเคียง
มีประวัติการแพ้ยา Penicillins ควรเลือกใช้ Erythromycin แทน
ระวังการใช้ Cephalosporin เพราะอาจเกิดการแพ้ยาได้
Cephalosporins
1st generation : Cephalexin 1– 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
: Cephradine :1–4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชั่วโมง
2nd generation Cefaclor 250 มก. ทุก 8 ชั่วโมง
3rd generation
4th generation
2.tertracyclins :
tetracycline
doxycyclin
Tetracyclin :1 – 2 กรัม แบ่งให้ 4 ครั้ง
Oxytetracyclin : 1 – 2 กรัม แบ่งให้ 4 ครั้ง
Doxycyclin : 100 มก. ทุก 12 ชั่วโมง
3.aminoglycosides :
gentamicin
kanamycin
streptomycin
4.sulfonamides :
sulfadiazine
sulfamethoxazole
5.quinolones :
nalidixicacid
norfloxacin
ciprofloxacin
ofloxacin
6.macrolides :
erythromycin
roxithromycin
Erythromycin : 1 – 4 กรัม แบ่งให้ทุก 6 ชม.
Roxitromycin : 150 มก.1x2
7.lincomycins :
lincomycin
clindamycin
8.polypeptides :
polymicin B
colistin (polymixin E)
vancomycin
ทางปากจะมีประโยชน์ในการรักษาลำไส้อักเสบและท้องเดินจากเชื้อแบคทีเรีย
9.nitrofurans :
nitrofurantoin
furazolidine
10.rifamycin
11.chloramphenicol
ยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียที่มีฤทธิ์กว้าง
ยารักษาวัณโรค
รักษาให้หายขาดได้ก็ต้องใช้เวลารักษาติดต่อกันเป็นเวลานาน
หากรักษาหรือกินยาไม่ติดต่อกันอย่างสม่ำเสมอก็จะทำให้เชื้อดื่อยาเป็นเหตุให้การรักษาไม่ได้ผล
ต้องใช้ยาตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปเพื่อป้องกันการดื้อยาที่จะเกิดขึ้นเร็วเมื่อใช้ยาชนิดแต่ชนิดใดชนิดหนึ่ง
หลักในการรักษาวัณโรค
ต้องให้ยาอย่างน้อย 2 ขนานพร้อมกัน
ต้องให้ยาในขณะที่เพียงพอ
ผู้ป่วยต้องกินยาอย่างสม่ำเสมอ
ระยะเวลาที่กินยาต้องผ่อนนานพอ
การจำแนกยารักษาวัณโรคเป็น 2 กลุ่ม
ยาที่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อวัณโรค (Bactericidal activity)
Isoniazid
Allergic reaction คนที่แพ้มากๆอาจมี agranulocytosis หรือ thrombocytopenia
มีพิษโดยตรงต่อระบบประสาททั้งส่วนกลางและส่วนปลาย
อาการบวมร่วมด้วย
ชาตามปลายมือ
ประสาทตาอักเสบ
รักษานานๆมักมีผลต่อตับ
ผู้ใหญ่ใช้ขนาด 5 ถึง 8 มก./กก.
ทั่วไปใช้ขนาด300มก./วันให้คร้งัเดียว
ยกเว้นกรณีที่ให้ยาแบบเว้นระยะต้องให้สูงถึง 900 มก./วัน
เด็กให้ขนาด 10 – 20 มก./วัน แต่ไม่เกิน 300 มก./วัน
Rifampicin
ตับอักเสบ
เฉพาะในคนที่มีอายุมาก
ดื่มเหล้าเป็นประจำ/มีโรคตับอยู่แล้ว
การใช้ยาร่วมกับ isoniazid
ข้อควรระวัง : ในผู้ป่วยโรคตับ หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร
ขนาดที่เหมาะสมในผู้ป่วยทั่วไปคือวันละ 600 มก.
เด็กให้ขนาด 10–20 มก./กก.
ระยะหลังมีผู้แนะนาว่าการใช้ยาในขนาด 450 มก./วัน
ผู้ป่วยที่น้ำหนักไม่เกิน 50 กก. ก็ได้ผลดี
Streptomycin
ใชข้นาด 15 มก./กก. หรือโดยทั่วไปให้ขนาด 1 กรัม/วันโดยฉีดครั้งเดียว
สำหรับผู้ใหญ่ที่น้ำหนักตัวต่ากว่า 50 กก. ให้ขนาด 0.75 กรัมก็เพียงพอ
ในเด็กใช้ขนาด 20 – 30 มก./กก.
Pyrazinamide
Ethionamide
ทั่วไปให้ขนาด 15–20 มก./กก.
อาจให้สูงถึง 25 มก./กก. ใน 2 เดือนแรก แล้วลดลง เหลือ 15 มก./กก.
ยาที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อวัณโรค (Bacteriostatic activity)
Thiacetazone
Ethambutol
PAS
Cycloserine
ระบบยาที่แนะนำ
ระบบยาที่ใช้เวลา 6 เดือน
2HRZE(S)/4HR
ระบบยาที่ใช้เวลา 8 เดือน
2HRZE(S)/6HE
ระบบยาที่ใช้เวลา 9 เดือน
2HRE/7HR
Antiprotozoals
ยาในกลุ่ม nitroimidazloes ได้แก่ Tinidazole , Ornidazole
เลือกใช้เป็นอันดับแรก
Trichomoniasis
รับประทาน 2 กรัม ครั้งเดียว หรือ 250 มก. วันละ 3 ครั้ง 7 วัน
ควรรักษาพร้อมกันทั้งตัวผู้ป่วยและผู้ที่มีเพศสัมพันธ์ด้วย แม้จะไม่มีอาการ
Amebiasis
รับประทาน250มิลลิกรัมวันละ3คร้งัเป็นเวลา7-10วัน
Giardiasis
รับประทาน 250 มิลลิกรัม วันละ 3 คร้งั 5-7 วัน / วันละ 2 กรัมเป็นเวลา 3 วัน
ประโยชน์ทางการแพทย์
ในการกำจัดเชื้อ Helicobacter pylori ใน peptic ulcer
ใช้ร่วมกับ amoxicillin, bismuth subsalicylate, tetracycline
รับประทานครั้งละ 500 mg นาน1สัปดาห์
Metronidazole 500 mg + omeprazole 20 mg + clarithromycin 500 mg
Antihelmintics
กลไกการออกฤทธิ์ของยาแบ่งได้ 3 แบบ
ยาออกฤทธิ์ทำลายกระบวนการป้องกันตัวของพยาธิ
โดยกลไกของ host
Niclosamide
Diethylcarbamazine
ยาออกฤทธิ์ยับย้งัไม่ให้พยาธิใช้กลูโคสจาก host หรือยับยั้งกระบวนการเปลี่ยนแปลงของกลูโคสในพยาธิ
Mebendazole
albendazole
ยาออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเน้ือพยาธิเป็นอัมพาต
Piperazine citrate
Pyrantel pamoate
Mebendazole
อาการไม่พึงประสงค์ : ปวดท้อง ท้องเดิน ไม่ควรใช้ในหญิงมีครรภ์
พยาธิแคปิลลาเรีย : รับประทานครั้งละ 200 มก.เช้าและเย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3-4 สัปดาห์
พยาธิเส้นด้าย : รับประทานครั้งเดียว100 มก.
พยาธิไส้เดือน พยาธิปากขอและพยาธิแส้ม้า : รับประทานครั้งละ 100 มก. เช้าและเย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3 วัน
รูปแบบของยา
ยาน้ำแขวนตะกอน : ขนาด 100 มก./5 มล.
เม็ดสำหรับเคี้ยว : ขนาด 100 มก.
ชื่อการค้า : Danaben ® , Fugacar ®
Albendazole
รูปแบบของยา
ชื่อการค้า : Zentel ®
เม็ดสำหรับเคี้ยวขนาด 200 มก.
ยาน้ำแขวนตะกอน ขนาด 100 มก./5 มล.
ผู้ใหญ่และเด็กอายุเกิน 2 ปีใช้ขนาดเท่ากัน
พยาธิไส้เดือนกลม พยาธิเส้นด้าย พยาธิแส้ม้า และพยาธิปากขอ : รับประทานครั้งเดียว 400 มก.
พยาธิสตรองจิย์ลอยด์ : รับประทาน 400 มก. เช้าและเย็นติดต่อกันเป็นเวลา 3-7 วัน
ถ้าให้ยาซ้ำหนึ่งชุดในเวลา 7 วันต่อมา
Pyrantel pamoate
รูปแบบของยา : ยาเม็ด 125 mg น้ำแขวนตะกอน 250 mg/ 5 ml
พยาธิไส้เดือนเส้นด้าย : รับประทาน 10 mg/Kg ครั้งเดียว (ไม่เกิน 1 g)
พยาธิปากขอ : 20 mg/Kg 2 วัน
Piperazine citrate
รูปแบบของยา
ชื่อการค้า : Upixon®
ยาเม็ด Piperazine hydrate 500 มก.
ยาน้ำเชื่อม หรือ Elixir Piperazine hydrate 500 มก./5 มล.
พยาธิไส้เดือนกลม : ให้ครั้งเดียวประมาณ 75 มก./กก. ไม่เกิน 3.5 กรัม ให้ก่อนนอนติดต่อกัน 2 วัน
พยาธิเส้นด้าย : ให้รับประทานคร้ังเดียวประมาณ 65 มก./ กก. ไม่เกิน 2.5 กรัม ให้ตอนเช้าติดต่อกันนาน 7 วัน
Thiabendazole
รูปแบบ : ชนิดเม็ดเดียวขนาด 500 มก.
พยาธิสตรองจิลอยด์ Trichinella และ cutaneous larva migran
รับประทานครั้งละ 2.5 mg/Kg
วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน (สูงสุด ไม่เกิน 1.5 g)
ยาในขนาดนี้จะขับพยาธิไส้เดือน แส้ม้า และปากขอออกไปด้วย
ยาขับพยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ
Diethylcarbamazine
รับประทานวันละ 6 มก./กก. อาจให้ครั้งเดียวหรือแบ่งให้ 3 ครั้งทุกวัน เป็นเวลา 6-12 วัน
Hetrazan ®
ชนิดเม็ดมี Diethylcarbamazine citrate 50 มก.
ยาขับพยาธิตัวตืด
Niclosamide
รูปแบบของยา : Yomesan ® ชนิดเม็ดสำหรับเคี้ยวขนาด 500 มก.
รับประทานครั้งเดียวตอนเช้าและเวลาท้องว่าง ต้องเคี้ยวหรือบดให้ละเอียด
เด็ก
อายุต่ำกว่า 2 ปีให้ 1 เม็ด
อายุ 2-6 ปีให้ 2 เม็ด
อายุเกนิ 6 ปี
ผู้ใหญ่ให้ 4 เม็ด
ยาขับพยาธิใบไม้
Praziquantel (bitricide)
พยาธิใบไม้ในตับ : ครั้งละ 40 mg/kg วันละ 3 ครั้ง 1 วัน
พยาธิใบไม้ในลำไส้ : รับประทานครั้งเดียว 15 mg/kg
พยาธิตืดหมู : รับประทานครั้งเดียว 15 mg/kg
พยาธิตืดหมูตัวอ่อนใต้ผิวหนัง : ครั้งละ 10 mg/kg วันละ 3 ครั้ง 10 วัน
พยาธิตัวอ่อนอยู่ในสมอง : ครั้งละ 15 mg/kg วันละ 3 ครั้ง 10 วัน
รูปแบบของยา : ชื่อการค้า Briticide ® ชนิดเม็ดขนาด 600 มก.
ไม่ควรเคี้ยว ควรกลืนทั้งเม็ดพร้อมอาหาร
Diospyros mollis
คั้นผลมะเกลือสด
เตรียมจากมะเกลือในขนาด 1 ผลต่ออายุ 1 ปีแต่ไม่เกิน 25 ผลหรือให้สารสกัดมะเกลือขนาด 50 มก./กก
รับประทานเวลาท้องว่างอาจเป็นเวลาเช้ามืดและงดอาหารเช้า
Artocarpus lakoocha
รูปแบบของยา : ผงปวกหาดได้จากการเคี่ยวแก่นมะหาดกับน้ำจนเกิดฟองแล้วช้อนฟองขึ้นมาทิ้งให้แห้ง
การทดลองใช้แต่ในผู้ใหญ่ให้งดอาหารเช้าและให้ผงปวกหาด 3 กรัม
สารสกัดผงประมาณ 2 กรัม รับประทานกับน้ำเย็น 2 ชม. ต่อมาให้รับประทานยาถ่าย
Antifungals
เกลื้อน
กลาก
เชื้อรา
ใช้ทาภายนอก (Topical)
Topical antifungal agents
Tolnaftate
Thiocarbamate ใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อ Dermatophyte
รักษา Candida ไม่ได้ผล
รายที่มีขุยหนา ๆ ผลการรักษาจะไม่ดี ต้องใช้ 10% Salicylic ointment ร่วมด้วย
ใช้รักษา Tinea pedis ได้ผลประมาณ 80%
มีใช้ในรูปของ 1% Ointment และ Solution : Fugicid ® , Ezon-T ® , Tinaderm ®
Ciclopirox olamine
หยุดการเจริญเติบโตของ Pityrosporum orbiculare (M.furfur)ได้
รักษา
Cutaneous candidiasis
Tinea corporis
Tinea cruris
Tinea pedis
tinea versicolor
รูปแบบของยา : ใช้ในรูปของ 1% Cream เช่น Batrafen ®
Imidazoles
Sodium Thiosulphate
ใช้รักษาเกลือนด้วยความเข้มข้น 20% ใช้ป้องกันเชื้อราที่เท้าในบริเวณสระน้ำ
โดยใช้ความเข้มข้น 10% ในน้ำล้างเท้า Sodium thiosulphate
เป็นสารที่ไม่มีพิษ ถ้ารับประทานเข้าไปมาก ๆ มีฤทธิ์เป็นยาระบาย
Selenium Sulphide
ใช้สระผมรักษารังแคที่ศีรษะ และใช้ทารักษาโรคเกลือนได้
ดูดซึมได้ถ้าผิวหนังอักเสบหรือเป็นแผล มีพิษมากถ้ารับประทานเข้าไป
สำหรับใช้รับประทาน (Systemic)
Nystatin
ใช้เป็นยารับประทานรักษาเชื้อ Candida ในทางเดินอาหาร
ยาถูกดูดซึมได้น้อยมากจากทางเดินอาหาร
Griseofulvin
รูปของยา : เม็ดขนาด 125 , 250 และ 500 มก.
เด็กให้ 10 มก./กก./วัน
ผู้ใหญ่ให้วันละ 500 มก. ถึง 1 กรัม ต่อวัน
Ketoconazole
รูปแบบของยา : Nizoral ®
ยาเม็ด : ขนาด 200 มก. / ใช้ยาขนาด 200 มก. ต่อวัน
Vaginal candidiasis ให้ 400 มก. ต่อวัน / ในการติดเชื้อที่รุนแรงอาจใช้วันละ 400 มก. เช่นกัน
Itraconazole (sporal ®)
ขนาดของยาที่ใช้ 100-200 มก. ต่อวัน ขึ้นอยู่กับชนิดของการติดเชื้อ
ระยะเวลาที่รักษาขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อด้วยเช่นกัน
Fluoconazole (Diflucan ®)
ขนาดที่ใช้ในการรักษาและระยะเวลาในการรักษาขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อรา
การติดเชื้อแคนดิดาในช่องคลอดอาจให้เพียงครั้งเดียว
การรักษา Cryptococcal memingitis อาจต้องให้ติดต่อกันนาน 6-8 สัปดาห์
ยาแคปซูล : ขนาด 50 และ 150 มก.
ยาทาความเข้มข้น 2 มก./มล.
Amphotericin B(Fungizone ®)
มีเฉพาะในรูปของยาฉีดขนาด 50 มก./มล.
ควรให้ยานี้โดยหยดผสมในน้ำเกลืออย่าง ช้าๆ ให้ผสมใน Dextrose in water
ไม่ใช้ Saline Solution ต้องป้องกันไม่ให้ยาถูกแสงสว่าง
ยาต้านมาลาเรีย
(Antimalarial)
Chloroquine Phosphate, Chloroquine Hydrochloride
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA และ RNA
อาการไม่พึงประสงค์
หญิงมีครรภ์ที่ได้รับยานี้เด็กที่เกิดมาอาจจะหูหนวกสมองเสื่อม (mental retardation)
Ocular toxicity ยานี้เป็นอันตรายต่อตาในผู้ที่ใช้ยาในขนาดสูงเป็นเวลานาน
Quinine Sulfate และ Quinine Dihydrochloride
Quinine เมื่อใช้ร่วมกับ Tetracyclines หรือ Pyrimethamine หรือยาในกลุ่ม Sulfonamides
Sulfadoxine
Quinine ยังเป็นยา first choice ในผู้ป่วยซึ่งเป็นมาลาเรียจากเชื้อ P. f
ระยะเฉียบพลันรุนแรง ซึ่งอาจจะมีอาการทางสมองด้วย
ได้ผลดีในการรักษาเชื้อ P.f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine
Primaquine Sulfate
ป้องกันการเกิดไข้กลับ
รักษามาลาเรียที่เกิดจากเชื้อ P.v, P.o ได้หายขาด
ป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อมาลาเรีย
Mefloquine
เมื่อให้ครั้งเดียวเมโฟลควินสามารถกไจัดเชื้อมาเลเรียในเลือดได้รวดเร็วรวมทั้งเชื้อที่ดื้อต่อ Chloroquineด้วย
รักษามาลาเรียจาก P. falciparum
เฉพาะการรักษา และป้องกันเชื้อ P.f ที่ดื้อต่อยา Chloroquine หรือเชื้อที่ดื้อต่อยาหลายตัว (multidrug resistance)
ออกฤทธิ์ช้าทำให้อัตราการลดลงของเชื้อในเลือดช้าด้วย
ปัจจุบันมีการใช้ Mefloquine ร่วมกับ Pyrimetha mine เพื่อลดการดื้อยาและเพิ่มประสิทธภิาพของยา
Antifolate
Pyrimethamine
Trimethoprim
Fansidar (Sulfadoxine 500 มก.+ Pyrimethamine 25 มก.)
Sulfadoxine ผสมกับ Pyrimethamine ยา 2 ชนิดจะออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ DHFR
รักษามาเลเรียจากเชื้อที่ดื้อต่อยา Chloroquine
Sulfonamide จะใช้ได้ผลกับเชื้อ P. falciparum เท่านั้นจะไม่ได้ผลกับ P. vivax
ยาปฎิชีวนะอื่น ๆ
ใช้ร่วมกับ Quinine ในการฆ่าเชื้อ P. falciparum
ที่ดื้อยา Chloroquine
Tetracyclines ชนิดที่ใช้มากคือ Doxycycline
Tetracyclines มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อได้แต่ออกฤทธิ์ช้า
GINGHAOSU (ARTEMISININ)
ออกฤทธิ์ฆ่าเชื้อ P. f ซึ่งดื้อต่อยา Chloroquine ได้ผลดี
จะฆ่าเชื้อในเลือดเท่านั้นไม่มีผลต่อเชื้อในตับ
เนื่องจากยามีค่าครึ่งชีวิตสั้นมากจึงไม่มีผลต่อการป้องกัน การติดเชื้อ
ยาต้านไวรัส
(Antiviral drugs)
คุณสมบัติที่ดีของยาต้านไวรัส
ออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงต่อ target virus หรือ viral specific products เท่านั้น
สามารถยับยั้งการเกิด reactivation ของไวรัสที่ยังคงเหลืออยู่ในร่างกาย
ไม่ก่อให้เกิดการดื้อยา และไม่เป็นพิษต่อโฮสท์เซลล์
Acyclovir
รูปแบบของยา
ขี้ผึ้งป้ายตาขนาด 3 %
ป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง จนอาการทุเลา และควรป้ายตาต่ออีก 1 สัปดาห์ ใช้เวลาประมาณ 15 วัน
ยาเม็ด 200 และ 400 มก.
ติดเชื้อเริมแสดงอาการครั้งแรกนานไม่เกิน 5 วัน ให้ 200 มก. วันละ 5 ครั้ง เป็นเวลา 5 – 10 วัน
งูสวัด
ให้ 500 มก. ทุก 4 ชั่วโมง นาน 7- 10 วัน
ตั้งแต่เริ่มมีอาการจะช่วยลด อาการเจ็บปวด และทำให้ทุเลาเร็วขึ้น
Vibarabin ( Ara-A , Adrenosine arabinoside )
รักษาเชื้อไวรัสกลุ่มเฮอร์พีส
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน และ อ่อนเพลีย ยานี้กดการทำงานของไขกระดูก
อาจทำให้มีการอักเสบของหลอดเลือดดำในบริเวณที่ให้ยา
Idoxuridine ( IDU )
ยาตัวแรกที่ให้ผลดีในการรักษาการอักเสบ และ แผลที่กระจกตา
รูปแบบของยา
0.5 % ชนิดป้ายตาทุก 4 ชั่วโมง ในเวลากลางวัน
ป้าย 1 ครั้งก่อนนอน และ ควรใช้ยา ป้ายตาต่อไปอีก 3–5 วันหลังจากที่แผลหายแล้ว
Amantadine , Rimantadine และ Tromantadine
ฤทธิ์ และ อาการไม่พึงประสงค์
ผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
นอนไม่หลับ
ตามัว ตาพร่า
ซึมเศร้า
มือสั่น
บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย
รูปแบบของยา
ชนิดน้ำเชื่อม 50 มก./5มล.
ผู้ใหญ่ให้ 100 มก.วันละ 2 ครั้ง
ชนิดแคปซูล 100 มก.
เด็กอายุ 1-9 ปีให้ 2-4 มก./กก./วัน
แบ่งให้ 2-3 ครั้ง ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 150 มก.
Interferon ( IFN )
มีฤทธิ์ป้องกันไม่ให้เซลล์ที่ยังไม่ติด เชื้อไวรัสติดเชื้อไวรัส
ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเชื้อไวรัสได้หลายชนิด โดยไม่ทำอันตรายต่อโฮสท์เซลล์
อาการไม่พึงประสงค์
Interferon syndrome
อาการไข้ หนาวสั่น
ปวดศรีษะ
อ่อนเพลีย
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
เบื่ออาหาร
สามารถใช้ยาพาราเซตามอล ลดไข้ได้ อาการจะทุเลาลงเมื่อหยุดใช้ยา
ยาต้านไวรัสเอชไอวี
(ANTI-HIV)
Reverse transcriptase inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง DNA โดยยับยั้งเอนไซม์ reverse transcriptase
ใช้ร่วมกับยาต้านไวรัสเอชไอวีชนิดอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกันหรืออยู่ในกล่มุ protease inhibitors
การใช้ยาเหล่านี้เดี่ยวๆ เชื้อจะดื้อยาได้ง่าย
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะและเป็นพิษต่อตับ
ยาบางชนิดท้าลายไขกระดูก
หรือทำให้ปลายประสาทอักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
zidovudine (AZT)
didanosine (ddI)
zalcitabine (ddC)
stavudine (d4T)
lamivudine (3TC)
Mevirapine
Delavirdine
efavirenz
Protease inhibitors
ออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ protease จึงขัดขวางขั้นตอน replication
การใช้ยาร่วมกัน 3 ชนิด
saquinavir, zalcitabine (ddC), zidovudine (AZT)
อาการไม่พึงประสงค์ที่อาจพบ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน และอ่อนเพลีย
ยาบางชนิดอาจทำให้ปวดศีรษะและปลาย ประสาทอักเสบ
Saquinavir
Ritronavir
Indinavir
nelfinavir