Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Premature rupture of membranes : PROM (ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่ว…
Premature rupture of membranes : PROM (ภาวะที่ถุงน้ำคร่ำรั่ว หรือแตกเองก่อนมีการเจ็บครรภ์คลอด)
การวินิจฉัย
ประวัติ
ให้ประวัติว่ามีน้ำใสๆไหลจากช่องคลอดเป็นปริมาณมาก
ต้องเเยกจากสาเหตุอื่นๆที่อาจพบเช่น ปัสสาวะไหล ตกขาวปริมาณมาก
การตรวจร่างกาย
ใส่ dry sterilized speculum เข้าไปในช่องคลอด จะเห็นน้ำคร่ำขังอยู่ที่ posterior fornix หรือไหลออกมาจากปากมดลูกชัดเจน โดยเฉพาะเวลาให้ผู้ป่วยไอหรือเบ่ง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine paper test น้ำคร่ำมี pH อยู่ในช่วง 7.0-7.5 ขณะที่สารคัดหลั่งจากช่องคลอดมี pH อยู่ ในชวง 4.5-6 ทดสอบด้วยกระดาษ Nitrazine จะเกิดการเปลี่ยนสีเป็นน้ำเงิน
2.Nile blue test เมื่ออายุทารก 32 weeks.ขึ้นไปจะตรวจพบเซลล์จากต่อมไขมันของทารกได้ในน้ำคร่ำ เมื่อนำไปย้อมด้วย Nile blue sulphate เซลล์เหล่านี้จะติดสีแสด
Papanicolaou Smear ย้อมเพื่อดู fetal cell ได้ผลแม่นยำร้อยละ 89 เเต่วิธียุ่งยากมากจึงไม่ค่อยนิยมทำ
การฉีดสีเข้าถุงน้ำคร่ำ ฉีดสี Evans Blue Methylene Blue เพื่อดูว่ามีสีออกมาทางช่องคลอดหรือไม่
Ultrasonography การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงมีประโยชน์ในกรณีที่ตรวจพบว่ามีน้ำคร่ำน้อย (oligohoydramnios) โดยที่ตรวจไม่พบความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะของทารก เเละทารกไม่มีภาวะเจริญเติบโตช้าในครรภ์ น่าจะมีภาวะถุงน้ำคร่ำเเตกจริง
สาเหตุ
ครรรภ์แฝดน้ำ
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนดเเละรกเกาะต่ำ
การตั้งครรภ์แฝดมาก่อน
Cervical Incompetence มีการฉีกขาดหรือบาดเจ็บที่ปากมดลูก
มีการกระตุ้นระบบเอนไซม์บางอย่างมากเกินไป เช่น Collagenase
มีการอักเสบติดเชื้อที่ปากมดลูกหรือช่องคลอด
Group B Streptococcus
Bacteroides Neisseria Gonorrhea
Chlamydia Trachomatis
Bacterial Vaginosis
มีการอักเสบติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำที่มีอยู่ก่อนเเล้วอาจเป็นเชื้อเเบคทีเรียหรือไวรัสรวมทั้งการติดเชื้อซ่อนเร้นในน้ำคร่ำ
การสูบบุหรี่
การดูแลรักษา
ดูเเลเเบบประคับประคอง
เก็บตัวอย่างน้ำคร่ำไปเพาะเชื้อเเละตรวจหาเชื้อ Clamydia trachomatis และ neissreia gonorrhea
งดการตรวจภายในโดยใช้นิ้วมือ ให้ใช้ sterilized speculum แทน
ให้นอนพักบนเตียงเพื่อลดการไหลของน้ำคร่ำ
เฝ้าระวังและตรวจหาหลักฐานของการติดเชื้อในโพรงมดลูก จากประวัติและการตรวจร่างกายที่สงสัยภาวะ chorioamnionitis
รับผู้ป่วยไว้ในโรงพยาบาล
ภาวะเเทรกซ้อน
ขณะตั้งครรภ์
Chorioamnioitis มีการอักเสบของเยื่อหุ้มเด็กหรือทารก มารดามีไข้ > 38 องศาเซลเซียล จะเกิดในช่วง 7 วันเเรกหลังน้ำเดินเเละหลังจาก 7 วันไปแล้วการเกิดก็จะลดลง
Endometritis มารดามีไข้ >38 องศาเซลเซียสใน 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อยทุก 6 hr. หลังคลอด 24 hr. เเรก
Placental abruption พบได้บ่อยในรายที่อายุครรภ์น้อยๆ และอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทําให้เกิด preterm PROM
Cord prolabsed พบได้น้อยในรายที่เป็น preterm PROM แต่ควรนึกถึงไว้เพราะหากเกิดแล้วมักมีผลกระทบที่ ร้ายแรงต่อทารกในครรภ์
Fetal death สาเหตุมักเกิดจากรกลอกตัวก่อนกําหนด สายสะดือย้อย (cord prolapse) และการติดเชื้อในโพรงมดลูก
Cesarean delivery เนื่องจากทารกอยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายจากการพบอัตราการเต้น ของหัวใจทารกผิดปกติ การมี Chorioamnionitis และการที่มักพบว่าทารกอยู่ในท่าที่ผิดปกติ
Posrpartum endometritis โอกาสที่จะเกิดการติดเชื้อในกระแสเลือดได้น้อย
ทารกในครรภ์
Neonatal death
Morbidity related to preterm birth
Morbidity related to infection
การติดเชื้อของทารกในครรภ์
Perinatal Asphyxia
ความผิดปกติโดยกำเนิด
Pulmonary Hypoplasia
มีการหดเกร็ง (Contracture)
Potter Syndrome
Craniosynostosis
AmnioticBands Syndrome
Respiratory Distress Syndrom
Musculoskeletal development
ความหมาย
ถุงน้ําคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์ (Premature Rupture of Membranes : PROM) หมายถึง การแตกรั่วของถุง
น้ําคร่าก่อนที่จะมีการเจ็บครรภ์คลอดโดยไม่จํากัดเวลาหรืออายุครรภ์
(Premature Rupture of Membranes : PROM ที่ครรภ์ครบกำหนดส่วนใหญ่จะเกิดการเจ็บครรภ์ตามมาใน 6 ชั่วโมง
ถ้า 18 ชั่วโมงเเล้วยังเกิดการเจ็บครรภ์คลอดจะเรียกว่า Prolong Premature Rupture Of Membrane
การตัดสินใจในการคลอด
อายุครรภ์ตั้งแต่ 32 - 33 สัปดาห์
ปอดของทารกเจริญดีเเล้ว ชักนำให้คลอด
ปอดของทารกยังไม่เจริญดี รักษาแบบประคับประคอง
อายุครรภ์ตั้งแต่ 24 - 31 สัปดาห์
ให้การรักษาแบบประคับประคอง (expectant management)
กลุ่มที่อายุครรภ์ตั้งแต่ 34 สัปดาห์ขึ้นไป
แนะนําให้ชักนําให้คลอดเลย
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องการติดเชื้อ แบคทีเรีย group B Streptococccus ด้วย
อายุครรภ์น้อยกว่า 24 สัปดาห์
เป็นช่วงที่ทารกอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถเลี้ยงให้รอดได้
หากคลอดสามารถให้ทางเลือกได้ทั้งการยุติการตั้งครรภ์หรือการรักษาแบบประคับประคอง
Triple I
1.Isolated maternal fever
T > 39 องศาเซียลเซียส หรือมากกว่าในการวัด 1 ครั้ง
T 38-39 องศาเซียลเซียส ในการวัด 2 ครั้งห่างกัน 30 นาที
2.Suspected triple I
มีไข้ดังที่กล่าวมาข้างต้นไม่สามารถระบุสาเหตุได้ ร่วมกับ 1 ใน 3 ข้อ
เม็ดเลือดขาว > 15,000/mm3
Fetal tachycardia
Fetal heart rate >160 ครั้งต่อนาที
ตกขาวเป็นหนอง
3.comfirmtriple I
มีไข้ 37.8 องศาเซียลเซียสขึ้นไปร่วมกับ 2 ใน 5 ข้อ
Maternal tachycardia มีอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
Fetal tachycardia โดยมี baseline fetal heart rate มากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
เม็ดเลือดขาวมากกว่า 15,000/mm3
น้ำคร่ำเป็นหนองหรือมีกลิ่นเหม็น
นางสาววรินทร อินแป้น 62102301102