Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร แบบบูรณาการระหว่างภาครัฐ…
หน่วยที่ 6 การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร แบบบูรณาการระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
การบริหารงานแบบบูรณาการ
แนวคิดการบริหารงานแบบบูรณาการ
ความสำคัญ ประโยชน์ หรือคุณค่าของการบริหารงานแบบบูรณาการ
ประโยชน์ด้านโครงสร้างการจัดองค์การให้มีความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคี เช่น การมีเอกภาพในการปฏิบัติงาน / การมีผู้รับผิดชอบการดำเนินงานที่ชัดเจน / การทำงานเป็นหมู่คณะ เป็นทีม /รวมภารกิจที่สัมพันธืกันอย่างเป็นระบบ
ประโยชน์ด้านกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ที่เป็นการบริหารในแนวราบ เช่น การระดม รวมทรัพยากรทางการบริหาร
แนวคิดที่สนับสนุน
แนวคิดหลักของการบริหารงาน
แนวคิดทางการบริหาร
การบริหารเชิงกลยุทธ์
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การจัดการความรู้
การบริหารเวลา
การทดลองและขยายผลการใช้แนวคิด
ความเป็นมา
ปรับให้สอดคล้อง
ประกาศใช้
จัดทำแผน
การทดลองการบริหารงาน
สำรวจข้อมูล
ประเมิน 6 เดือน
ประเมินผลหลังทดลอง 12 เดือน
การสนับสนุนการใช้แนวคิด
การจัดการภาครัฐแนวใหม่
การอำนวยการและประสานงาน
การขยายแนวความคิดการบริหารงาน
แผนขั้นตอนการใช้
กำหนดทิศทาง
การบริหารงานแบบบูรณาการ
การดำเนินการบริหารงานจังหวัด
ด้านโครงสร้าง
ด้านกระบวนการ
การปฏิบัติของจังหวัด
เตรียมมบุคคล
ปรับปรุงองค์กร
กำหนดทิศทาง
การปฏิบัติการ
กรอบนโยบายและการจัดระบบบริหารงานจังหวัด
องค์การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ภาครัฐ
ส่วนกลาง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
หน่วยสนับสนุนการบริหารงานส่งเสริม
หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ
ส่วนภูมิภาค
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกาตรที่เป็นส่วนภูมิภาค เช่น สนง.เกษตรจังหวัด / สนง.เกษตรอำเภอ / สนง.เกษตรและหสกรณ์จังหวัด
หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรฯที่มีที่ตั้งในส่วนภูมิภาค เช่น สนง.เศรษฐกิจการเกษตร / กรมการข้าว / กรมประมง / กรมวิชาการเกษตร / กรมหม่อนไหม /กรมชลประทาน
ส่วนท้องถิ่น
องคืการบริหารส่วนจังหวัด / เทสบาล (เทสบาลนคร/เทสบาลเมือง/เทศบาลตำบล) / องค์การบริการส่วนตำบล / ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กำหมายกำหนด เช่น กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา
ภาคเอกชน
คระกรรมการร่วมภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ (กรอ.)
ผู้ประกอบการธุรกิจ เช่น สยามคูดบต้า เจริญโภคภัณฑ์ เบทาโกร วังขนาย แปซิฟิคเมล้ดพันธุ์
ภาคประชาชน
กลุ่มอาชีพ เช่น กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กลุ่มยุวเกษตรกร วิสาหกิจชมุชน
เกษตรอาสาสมัคร เช่น อาสาสมัครเกษตร ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล (ศบกต.) ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบบูรณาการ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ประสิทธิภาพ
ปรับปรุงกระบวนการ
ปรับปรุงโครงสร้าง
ความสามารถการเชื่อมโยง
แนวคิด
สรรพกำลัง
ทรัพยากร
กระบวนการบริหารงาน
สร้างความรู้ความเข้าใจ
ปรับปรุงให้สอดคล้อง
ทบทวน,กำหนดทิศทาง
หลักการในการนำนโยบายไปใช้
ด้านระบบ
จัดโครงสร้างองค์การ
จัดกระบวนการงาน
ด้านแนวคิด
การจัดการพื้นที่
การแก้ไขปัญหา