Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
CA bladder with bilat UVJ Obstruction , Case, Case, Case, Case,…
CA bladder with bilat UVJ Obstruction
Bilateral Ureterovesical junction obstruction
พยาธิสภาพ
ภาวะหลอดไตมีการบวมโต (megaureter) หลอดไตขยายผิดปกติ อาจมีการขยายของกรวยไตร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ พบได้ทั่วไปกระจัดกระจาย
หมายถึง
ภาวะหลอดไตบวมโตทั้งสองข้าง
สาเหตุของการเกิด
อาจเกิดการอุดตันจากเยื่อพังผืดรัด ureteral valve ตีบ ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหลอดไตในบางช่วง การอุดตันทำให้ระบบไตส่วนต้นเกิดการขยาย ทำให้เกิดภาวะ pyelectasis และ hydronephrosis ได้ และอาจพบความผิดปกติอื่น ร่วมด้วย เช่น ไตข้างตรงข้ามฝ่อหรือมี cystic dysplasia และ Hirschprung’s disease
และในชนิดที่หลอดไตผิดปกติเอง อาจจะเกิดการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะพบในทารกเพศชายมากกว่าเพศหญิง
ผล U/S เจอ Bilateral Hydronephosis
ทำ Lt.Percutaneous Nephrostomy(PCN) Bed side วันที่15/10/65 time 21.30น.
พยาธิสภาพ
มะเร็งกระเพาะปัสสาวะอาจเกิดเมื่อเซลล์ในชั้นเยื่อบุกระเพาะปัสสาวะโตผิดปกติเนื้องอกในกระเพาะปัสสาวะส่วนใหญ่มีรูปร่างเหมือนเห็ดเล็กปรากฏครั้งแรกในชั้นในสุดของกระเพาะปัสสาวะเรียกว่าเนื้องอกของหัวนม ผ่านไปสักระยะเนื้องอกจะลุกลามไปที่ผนังกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะและส่วนอื่นๆของร่างกาย
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะเป็นเลือด ผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณ 75 - 90%
14/10/65 แรกรับAt ER Pt. มีอาการปัสสาวะเป็นเลือด Gross Hematuria On foley’s catheter ออก~50 ml
15/10/65 At ward Surg สายfoley’s catheter มีการตัน retain foley’s catheter ใหม่ และon CBI keep Urine ใส
18/10/65 เวรดึกสายF/Cตันเปลี่ยนเป็น no.22 3หาง run CBI with NSS ตาม order
เวรเช้า สายตัน irritated ไม่ออก urine ไม่ออก notify แพทย์ เปลี่ยน F/C เป็น no.24 3หาง run CBI with NSS
แบบแผนการขับปัสสาวะผิดปกติเนื่องจากมีการอุดกั้นของทางเดินปัสสาวะ
มีอาการคล้ายกระเพาะปัสสาวะอักเสบพบได้ประมาณ 20%
มีอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนต่างๆเช่นภาวะซีด ปวดหลัง
ผลการตรวจHctทางห้องปฏิบัติการ
14/10/65 แรกรับ at ER 17.6% ต่ำกว่าปกติ (40-54%)
15/10/65 แรกรับ at ward Surg 30%
18/10/65 วันที่รับไว้ในการดูแล 25.5% ต่ำกว่าปกติ (40-54%)
19/10/65 28.1% ต่ำกว่าปกติ (40-54%)
20/10/65 32.1 % ต่ำกว่าปกติ (40-54%)
เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากภาวะซีด จากการมีเลือดออกที่ทางเดินปัสสาวะ
เกิดจากการลุกลามของมะเร็งไปอุดตันท่อไตเกิดอาการท้องผูกเมื่อก้อนมะเร็งไปกดเบียดลำไส้ใหญ่
ระยะลุกลามผู้ป่วยมีอาการปวดท้องน้อยเรื้อรังอาจจะคลำได้ก้อนบริเวณหัวหน่าว
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
การรับประทานอาหารที่มีไนเตรทสูง เช่น เนื้อสัตว์หรืออาหารมัน
การสูบบุหรี่ ส่วนใหญ่การเกิดโรคนี้มีความสัมพันธ์กับการสูบบุหรี่เป็นหลัก
ผู้ป่วยมีประวัติ สูบบุหรี่~40ปี สูบวันละ 10-20มวนต่อวัน
เลิกสูบมาแล้ว1 ปี
สัมผัสสารเคมีบางอย่างเรื้อรัง เช่น การดื่มน้ำที่มีสารหนู
การอักเสบการระคายเคืองของกระเพาะปัสสาวะเรื้อรัง
ชนิดของมะเร็ง
Transition cell carcinoma พบส่วนใหญ่ 95% เป็นมะเร็งชนิดนี้
spuamous cell carcinomaร่วมกับภาวะมีการอักเสบรื้อรังร่วมกับการมีนิ่งในบางรายเกิดจากพยาธิใบไม้ในเลือด (7,8)ซึ่งระยะตัวอ่อนของพยาธิจะฝังตัวบริเวณชั้นในของกระเพาะปัสสาวะ
Adenocarcinoma ตำแหน่งที่พบบ่อยคือส่วนด้านหน้า หรือส่วนยอดของกระเพาะปัสสาวะร่วมกับremnant of urechus
นอกจากนี้อาจจะพบชนิดอื่นได้แต่น้อยมาก เช่น saroma,small cell carcinoma
การรักษา
ในระยะที่ก้อนเนื้องอกยังไม่ลุกลามถึงชั้นกล้ามเนื้อ(superficial disease)การสอดเครื่องมือเล็กๆเข้าไปทางท่อปัสสาวะปล่อยไฟฟ้าจี้ที่ก้อนมะเร็งทำลายก้อนมะเร็งไปให้หมด
ใช้วิธีการตัดเอาก้อนเนื้อออก(Transurethral receptionof bladder tumor;TUR-BT)แล้วเย็บผนังของกระเพาะปัสสาวะ
TUR-BT with PCN Rt 21/10/65
Blood loss 400 ml
Electrolyte imbalance
21/10/65
Sodium 143 mmol/L
Potassium 4.1 mmol/L
Chloride 109 mmol/L
CO2 16 mmol/L
Anion GAP 23.1
Calcium 6 mg/dL
Phosphorus 8.1 mg/dL
อาการ
มีน้ำขัง
ใช้ยาเคมีบำบัดใส่เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะแล้วกักเก็บ ไว้เป็นระยะเวลาประมาณ1-2 ชั่วโมงแล้วจึงถ่ายทิ้ง
ระยะที่ก้อนเนื้องอกลุกลามเข้าไปยังชั้นกล้ามเนื้อของกระเพาะปัสสาวะแล้ว(invasive disease)อาจต้องตัดเอากระเพาะปัสสาวะออก(Cystectomy)แล้วเปลี่ยนทางเดินปัสสาวะใหม่และตัดเอาบางส่วนของลำไส้มาดัดแปลงเป็นกระเพาะปัสสาวะ
ระยะที่มะเร็งกระเพาะปัสสาวะลุกลามออกไปนอกผนังกระเพาะปัสสาวะหรืออวัยวะข้างเคียง(metastatic disease)การรักษาจะใช้วิธีฉายแสงรังสีและเคมีบำบัดร่วมกั
การตรวจทางรังสีวิทยา
การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
การส่องกล้องตรวจกระเพาะปัสสาวะ
โดยสอดผ่านไปทางท่อปัสสาวะเพื่อดูพยาธิสภาพภายในกระเพาะปัสสาวะ และสามารถตัดชิ้นเนื้อบางส่วนที่สงสัยว่ามีความผิดปกติมาทำการพิสูจน์ทางพยาธิวิทยา(Biopsy) ว่าเป็นมะเร็งหรือไม่ถือว่าเป็นการตรวจวินิจฉัยหลัก ประโยชน์ทางการรักษามากที่สุด
การตรวจปัสสาวะUrinalysis
จะพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว ซึ่งมีมากในรายที่มีการติดเชื้อร่วมด้วย การทำcytology อาจจะพบเซลล์มะเร็งปะปนอยู่
การตรวจทางรังสีวิทยา
เพื่อหาความผิดปกติของอวัยวะในทางเดินปัสสาวะอาจจะมีการตรวจเอกซเรย์กระดูกและปอดเพื่อดูการแพร่กระจายของมะเร็งซึ่งเป็นวิธีที่มีประโยชน์สำหรับการประเมินสภาพส่วนอื่นๆของทางเดินปัสสาวะ
ผู้ป่วยชายไทยวัย 66ปี
Dx. CA Bladder with bilateral UVJ Obstruction
CC: ปัสสาวะลำบาก คันตามตัว 4ชั่วโมงก่อนมา โรงพยาบาล
U/D BPH CKD stage4
เกิดการกดเบียดท่อปัสสาวะ
มีการอุดกั้นทางเดินปัสสาวะ
มีการขยายตัวของทางเดินปัสสาวะ
AKI
Case
Case
Case
Case
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Case
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ช