Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรี ในประวัติศาสตร์ไไทย, นางสาว ชนันธร จักราชัย ม 4/1 เลขที่ 33…
บทบาทของสตรี
ในประวัติศาสตร์ไไทย
ช่วงเวลาบันทึกหลักฐาน
ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
ด้านการรบและการทำสงคราม
เจ้าศรีอโนชา
ท้าวเทพกษัตรี ท้าวศรีสุนทร (คุณหญิงมุก คุณหญิงจัน) เมืองถลาง รัชกาลที่1
สมเด็จพระสุริโยทัย
ท้าวสุรนารี(คุณญิงโม) นครราชสีมา รัชกาลที่ 3
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา
การสร้างเสริมสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
การแสวงหาพันธมิตร
เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น
การเสริมสร้างสัมพันธไมตรี
เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ
ด้านการปกครอง
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
พระมหาเทวีล้านนา
กรมหลวงโยธาเทพ(เจ้าฟ้าศรีสุวรรณ)
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
พระนางจามเทวี(หริภุญชัย)
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
พระองค์เจ้าบุตรี
(พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสรฐสุดา)
ด้านวรรณการรม
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนริทรเทวี
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ระองค์เจ้ามณฑา พจะเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
เจ้าฟ้ากุลฑล และเจ้าฟ้ามงกุฏ
คุณพุ่ม (บุษบาท่ารือจ้าง) และ คุณสุวรรณ
ด้านศาสนา
สตรีสูงศักดฺ์นับแต่อดีตมีความเลื่อมในพุทธศาสนาศาสนามักบริจาคทรัพย์เพื่อบำรุงศาสนา
สมัยรัชการที่ 5
ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระปิตุฉาเจ้าสุุขุมาลมารศรี
พระอัครราชเทวี
ดำรงตำแหน่งราชเลขาฝ่ายใน
งานนิพนธ์ "สุขุมาลนิพนธ์"
ให้วังบางขุนพรหมเป็นแหล่งศึกษาแก่สตรีสูงศักดิ์
สร้างอาคารเรียนให้วัดพิชยญาติการรามวรวิหาร
พระอรรคชายาเธอ
พระองค์เจ้าสายสวรีย์ภิรมย์
แหล่งวิชาด้านแม่เรือนแก่กุลสตรี
สร้างโรงเลี่ฃ้ยงเด็กกำพร้า สงเคราะห์ผู้ยากจน
พระธิดา รวบรวมผลงานพระราชนิพนธ์ร 5 "ไกลบ้าน"
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา
พระบรมราชเทวี
พัฒนาคุณาพชีวิตของประชาชนในหัวเมือง
สร้างโรงพยาบาล สอนหนังสือและอาชีพแก่ชาวบ้าน
สิบทอดมาถึงศูนย์ศิลปาชีพในปัจจุบัน
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
ผสมผสานวัฒนธรรมสยามและล้านนาเข้าด้วยกัน
จัดตั้งโรงเรียนและสนบสุนโรงเรียนต่างๆในเชียงใหม่
นำศิลปะ วัฒนธรรมล้านนาไถ่ายทอดในโรงเรียนต่างๆ
ทดลองปลูกพืชเมืองหนาวและเผยแพร่สู่ชาวบ้าน
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวนาผ่องศรี
พระบรมราชีนีนาถ
ด้านการปกคอรง
พรบ ประกาศจัดการป้องกันกาฬโรคเพิ่มเติม
ประธานในราชพิธีสำคัญ และให้แขกเมืองเข้าเฝ้า
พรบ แก้ไขเพิ่มเติมพิกัดภาษีภายใน
ด้านสาธารสุขและการแพทย์
ก่อตั้งโรงเรียนการแพทย์ผดุงครรภ์ในโรงพยาบาลศิริราช
ก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง(สภากาชาดไทย)
สนับสนุนให้สตรีไทยใช้การคลอดแบบตะวันตก
สร้างรูปพระแม่ธรณีบีบมวยผมที่เชิงสะพานผ่านพิภพลีลา
ให้ประชาชนมีน้ำสะอาดบริโภค
ด้านการศึกษา
สละราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้ง
โรงเรียนสตรีหลายแห่ง
เจ้าจอมเมารดาแพร
แก้ไขธรรมเนียมต่างๆให้ทันสมัย
ตั้งสุขศาลา บริการสาธารณสุขแก่ประชาชน
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านการแพทย์และสังคมสงเคราะห์
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชบุล
บำบัดรักษา ป้องกัน กามโรค
ตั้งสถานเลี้ยงเด็กกำพร้านอกสมรส
มาตาภาวนาสถาน ->พีระยานุเคราห์
ร่วมตั้งบ้านเกร็ดตระการ
ช่วยเหลือหญิงขายบริการและเด็กเร่ร่อน
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์
เสริมสร้างบทบาทพยาบาลไทยสู่สากล
เผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ริเริ่มจัดกิจกรรมวิชาการ
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ด้านสังคมสงเคราะห์
ตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
ตั้งโรงเรียนและโรงพยาบาล
ด้านการเมือง
พยายามยกสถานภาพของสตรี ให้เสมอภาค
สมาชิกทางการเมืองของ นครนายก
ผลักดันสร้าง 3 รร ในจังหวัดนี้
ด้านประกอบอาชีพ
และกิจกรรมทางสังคม
ท่านผู้เหญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
ผู้บริหารโรงเรียนผดุงครรภ์และกรพยาบาล
จัดพิมพ์ตำรา แม่ครัวหัวป่าก์
ท่านผู้หญฺิงตลับ สุขุม
พัฒนาสถานภาพสตรีไทยในกรุงเทพและหัวเมือง
หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร
(เจ้าศรีพรหมมา ณ น่าน)
นำเทคโนโลยีมาใช้ในฟาร์ม
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฏหมาย
เรียกร้องสิทธิสตรี
ยกระดับสถานภาพเท่าบุรุษ
คุณหญิงแร่ม พรหโมบล
คุณหญิงสุภัทรา สิงหลกะ
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิศมัย ดิสกุล
ร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
สตรีจากราชสกุลกุญชร
หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินท์
เขียนนวนิยายสะท้อนสังคม
นามปากกา ดอกไม้สด
หม่อมหลวงบุญเหลือ (กุญชร) เทพยสุวรรณ
งานวิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไท วรรณคดี
วิธีการสอน
หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์
ประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะมากกว่า 120 เพลง
เช่น บัวขาว เงาไม้
นางสาว ชนันธร จักราชัย
ม 4/1 เลขที่ 33