Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน้าที่พลเมืองม.3 1.การเมืองการปกครอง - Coggle Diagram
หน้าที่พลเมืองม.3
1.การเมืองการปกครอง
1.ระบอบการปกครอง 2ประเภท
1.1ประชาธิปไตย
การมีส่วนร่วมของปชชมี 2รูปแบบ
1.แบบทางตรง
2.แบบตัวแทน
ศูนย์แห่งอำนาจมี3รูปแบบ
1.แบบรัฐสภา
บริหารคือ รัฐบาล
ประมุขคือ พระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดี
พระมหากษัตริย์(ไทย ญี่ปุ่น กัมพูชา อังกฤษ) /// ประธานา(สิงคโปรค์ อินเดีย มาเลเซีย บังคลาเทศ โปรตุเกส
อังกฤษ(สภาล่าง=สส // สภาสูง =สภาคุณนาง=วุฒิสภา
2.แบบประธานาธิบดี
บริหารคือ ประธานาธิบดี มีอำนาจแต่งตั้ง
ประมุข คือประธานาธิบดีจากการเลือกตั้ง
ประธานาบดี มีหน้าแต่งตั้ง+ถอดถอนรัฐมนตรี ยั้บยั้งกฎหมายรัฐสภาได้ แต่เสนอไม่ได้ ไม่ม่ีอำนาจยุบสภา
สหรัฐอเมริกา ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย เปรู
ฝ่ายนิติบัญญัติไม่สามารถไม่ไว้วางใจประธานาธิบดีได้ แต่มีสิทธิถอดถอนได้ถ้ากระทำผิดร้ายแรง
3.แบบกึ่งรัฐสภา กึ่งประธานาธิบดี
ฝ่ายบริหาร ประธานาธิบดี+นายกรัฐมนตรี
ประมุข คือ ประธานาธิบดี
ประธานาธิบดี:
มาจากการเลือกตั้งเป็นผู้นำฝ่ายบริหาร กำหนดนโยบาย ยุบสภาได้ เลือกนายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรี
มาจาการแต่งตั้งโดยประธานาธิบดี มีหน้าที่เสนอร่างกฎหมาย
รัฐสภา
มีอำนาจถอดถอน และไม่ไว้วางได้ ยุบนายกได้ แต่ยุบประธานาธิบดีไม่ได้
ฝรั่งเศส เกาหลีใต้ รัสเซีย
หลักการ
3.หลักนิติธรรม (1.ตามกฎหมาย 2.เสมอภาค 3.ทุกคนต้องได้รับไตร่สวน 4.ตุลาการและศาลต้องมีอิสระต่ออำนาจบริหาร )
2.หลักสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
1.หลักอำนาจอธิปไตย
1.2เผด็จการ
รูปแบบ
1.เผด็จการอำนาจนิยม
อิรัก(ซัดดัม ฮุสเซน) พม่า
มีอำนาจทางการเมือง+ปกครองเท่านั้น /รูปแบบรัฐบาลทหาร/สิทธิเสรีภาพการเมืองปชชถูกจำกัด
2.เผด็จการฟาสซิสต์/เบ็ดเสร็จ
ผู้นำมีอำนาจเบ็ดเสร็จทุกด้าน+กองทัพ/เชื่อว่าทำให้ก้าวหน้าเร็ว
อิตาลี เยอรมันสมัยww2
3.เผด็จการคอมมิวนิสต์ /สังคมนิยม
สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม
คณะผู้นำพรรคเดียวในประเทศมีอำนาจควบคุมทั้งการเมือง+ปกครอง+ เศรษฐกิจ สังคม+ การดำเนินชีวิต
สมบูรณาสิทธิราช
พระมหากษัตริย เป็นประมุข+ผู้นำรัฐบาล
บรูไน วาติกัน ซาอุ
หลักการ
2.เผด็จการในรูปแบบการปกครอง รวมอำนาจ
1.เผด็จการแนวคิดทางการเมือง เชื่อว่าผู้นำมีคุณธรรม
3.เผด็จการในการดำเนินชีวิต
รัฐ
มี2รูปแบบ
รัฐเดี่ยว
รัฐเป็นศูก อำนาจการบริหารแห่งเดียว
ไทย เกาหลี ญี่ปุ่น สิงคโปร์
รัฐบาลกลางเป็นผู้กำหนดนโบายและมีอำนาจสูงสุดและ อาจมีการกระจายอำนาจไปท้องถิ่น
ข้อดี เอกภาพ มั่นคง ประหยัดงบ
รัฐรวม
อเมริกา มาเลเซีย อินเดีย
รัฐที่มีตั้งแต่2รัฐขึ้นไปเป็นสหพันธรัฐ
มีการปกครอง2ระดับคือ รัฐบาลกลาง+รัฐบาลท้องถิ่น
ข้อดี ดูแลทั่วถึง
มีองค์ประกอบ4อย่าง 1.ดินแดน 2.อำนาจอธิปไตย 3.ประชากร 4.รัฐบาล
ความแตกต่างปชต/เผด็จการ
2.สิทธิเสรีภาพ: ให้ ///ให้ความสำคัญกับรัฐ ผู้นำ
3.นโยยายและการดำเนินของรัฐบาล:เพื่อประชาชน / เพื่อประเทศ
1.อำนาจสูงสุด :ประชาชน มีพรรคการเมืองหลายพรรค / รัฐ มีพรรคเดียว
4.การบริหารประเทศ : เปลี่ยนผูู้นำได้ /ไม่ได้
2.การปกครองของไทยและต่างประเทศ
2.1การปกครองของไทย
2.1.2 รูปแบบการปกครอง: ด้วยระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข หน้า10 (1.ประมุข ใช้อำนาจอธิปไตย 2.กล่าวหามิได้3.พุทธมากะ4.กลาง เหนือการเมือง )
2.1.1 รูปแบบรัฐ รัฐเดี่ยว
2.1.3อำนาจอธิปไตย
1.อำนาจนิติบัญญัติ
1.สส 500=เลือกตั้งแบบแบ่งเขต350+ แบบบัญชีรายชื่อ150
2.วุฒิสภา200 ปัจจุบัน250 มาจากการคัดเลือก //หน้าที่กลั่นกรองกฎหมาย ให้ความเห็นในการดำรงตน.
2.อำนาจบริหาร
องค์ประกอบสถาบัน
ข้าราชการประจำ
ช้าราชการการเมือง
2 more items...
การบริหารราชแผ่นดิน
ส่วนกลาง
รวมอำนาจ /นายก +รัฐ รับผิดชอบดุูแลนโยบาย/ปลัดสำนักนายก อธิบดี นำนโยบายไป เช่นกระทรวง ทบวง
ท้องถิ่น
กระจายอำนาจ
ทั่วไป :อบต อบจ เทศบาล
พิเศษ:
ส่วนภูมิภาค
แบ่งอำนาจ
จังหวัด(นิติบุคคล) อำเภอ(ไม่เป็นนิติบุคคล) ตำบล หมู่บ้าน
3.อำนาจตุลาการ
1.ศาลยุติธรรม
ศาลอุทร
ศาลฎีกา มีคดีพิเศษ11แผนก
ศาลขั้นต้น =ศาลชั้นต้นทั่วไป +ศาลชำนาญพิเศษ
2.ศาลปกครอง (จนทรัฐ)
ชั้นต้น
ชั้้นสูงสุด
3.ศาลทหาร
ไม่ปกติ
อาญาศึก
ปกติ
4.ศาลรัฐธรรมนูญ
2.2การปกครองของประเทศที่คล้ายคลึงและแตกต่างกับไทย
คล้าย
ญี่ปุ่น
รัฐสภา(สภาไดเอต)
มี5ศาล (ฎีกา อุทร จังหวัด ครอบครัว แขวง)
อังกฤษ
รัฐเดี่ยว/รัฐสภา พระมหากษัตริย์เป็นประมุข
สภาขุนนาง=สภาสูง ร่างกฎหมาย
สภาสามัญ =สภาล่าง มี600คน
แตกต่าง
สหรัฐอเมริกา
วุฒิสภา (สภาสูง) /สส( สภาล่าง)
3ศาล
สาธารณรัฐเกาหลี
กึ่งประธานาธิบดี กึ่งรัฐสภา
2.3การพัฒนาประชาธิปไตยของไทย
ปัญหาอุปสรรค
2.ประชาชนให้ความสนใจในการเลือกตั้งน้อย
3.ประชาชนยึดติดระบบอุปถัมภ์
1.ประชาชนขาดความรู้ความเช้าใจเรื่องประชาธิปไตย
6.ความเห็นต่างทางเมือง
5.การแก้ปัญหาการเมืองโดยการรัฐประหาร
4.การขาดความตระหนักในหน้าที่ของนักการเมือง
แนวทางแก้ไข
2.ส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการเลือกตั้ง :
1.สร้างสร้างความรู้ทางการเมืองแก่ประชาชน
3.ส่งเสริมให้มีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง
4.ส่งเสริมให้นักการเมืองตระหนักในหน้าที่ของตน
5.รัฐส่งเสริมและสร้างจิตสำนึกให้คนในชาติตระหนักว่่าการรัฐประหารมิใช่แนวทางในการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน
6.รัฐต้องให้สิทธิเสริภาพในการแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง
3.รัฐธรรมนูญ
3.2การมีส่วนร่วมทางการเมือง
3.การร่วมอนุรักษ์ฟื้นฟุ ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถ่ินและชาติ
4.ร่วมเสนอความคิดเห็นและให้ข้อมูลกับรัฐ
2.การใข้สิทธเลือกตั้ง/ลงประชามติ
1.การเสนอกฎหมาย 1หมึ่นคน
5.การร่วมรับรู้ข้อมูลช่าวสาร
6.การร่วมต่อต้านการทุจริต
7.การร่วมตรวจสอบการใช้อำนาจรับ
8.การรวมตัวกันเป็นกลุ่มผลประโยชน์
3.3การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
1.การตรวจสอบทรัพย์สิน ( ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู็ดำรง ผู้ว่าการตรวจเงินแผ่นดิน เจ้าหน้าที่รัฐ)
2.การขัดกันแห่งผลประโยชน์
1.ไม่มีตนราชการ รัฐวิสาหกิจ 2.ไม่รับหรือแทรกแซงสัมปทาน 3.ไม่รับเงินหรือผลประโยชน์ใดๆจากฝ่ายรั,4. ไม่แทรกแซงหนังสือพิมพ์ สื่อมวลชน
3การให้พ้นจากตนและถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่ง
1.โดยสมาชิกรัฐสภา
1/10 ของจำนวนสมาชิก
2.โดยองค์กรอิสระ กกต ปปช
1/2ของคณะกรรมการทั้งหมด
3.ประชาชน
1.เข้าชื่อ2.ส่งคำร้องคำชี้แจง 3.ลงคะแนนเสียงถอดถอน 4.การนับคะแนนการประกาศผล ต้องมากกว่า1/2 หรือ ให้คะแนน3/4
4.การดำเนินคดีอาญากับผู้ดำรงตนทางการเมือง
ไม่สามารถลงเลือกตั้งไม่เกิน10ปีหรือตลอดชีพ
3.1การเลือกตั้ง
หลักการ 1.เลือกอย่างอิสระ 2.โดยตรงและลับ 3. ตามกำหนดเวลา 4.อย่างบริสุทธิ์ ยุติธรรม 5.มีความเสมอภาค 6. มีความสะดวกในการลงคะแนน
คณะกรรมการเลือกตั้ง มีวาระ 7ปี
แบ่งเป็น2ระดับคือ1.ระดับชาติ 2.ระดับท้องถิ่น
สมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริการท้องถ่ิน
3.4อำนาจหน้าที่รัฐบาล
3.ประสานงานราชการ
4.แก้ปัญหาประเทศ
2.เสนอกฎหมาย
5.รักษาความมั่นคง
1.กำหนดนโยบาย
6.ให้บริการสาธารณะแก่ปชช
7.ดำเนินกิจการด้านการพานิชย์ ไฟฟ้า ประปา รถไฟ