Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาการบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ (URINARY TRACT INJURY),…
พยาธิสรีรวิทยาการบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ (URINARY TRACT INJURY)
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน (Upper urinary tract)
ท่อไต
ไต
2 ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง (Lower urinary tract)
กระเพาะ
ท่อปัสสาวะ
การบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ
การบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ มักเกิดร่วมกับการบาดเจ็บของอวัยวะในช่อง ท้อง หรือกระดูกเชิงกราน
การบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ พบได้ประมาณร้อยละ 10-15 ของการ บาดเจ็บช่องท้อง หรือร้อยละ 5-10 ของการบาดเจ็บ ทรวงอกตอนล่าง ช่องท้อง และเชิงกราน
การบาดเจ็บต่อไต พบได้ร้อยละ 80 และมีสาเหตุจาก การกระทบกระแทกเป็นส่วนใหญ่
อาการแสดงที่พบบ่อยที่สุดที่บ่งชี้ถึงการบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ
การพบเลือดปนน้ำปัสสาวะ
ลักษณะการบาดเจ็บในระบบทางเดินปัสสาวะ
แบ่งตามความรุนแรง
แบ่งตามอวัยวะ
แบ่งตามเกิด
การบาดเจ็บต่อไต Renal injury
มักมีความรุนแรงและใต้เป็นอวัยวะที่มีเลือดมาเลี้ยงมากทำให้ผู้ป่วยอาจเสียเลือดมากจนอาจเสียชีวิตได้หากไม่ได้รับการรักษาที่ทันเวลา
สาเหตุ
Blunt renal injuries พบได้ 80-85% ของการบาดเจ็บที่ไตทั้งหมด
Penetrating renal injuries
จำแนกตามความรุนแรง
การบาดเจ็บเล็กน้อย
เกรด I ไตช้ำ มีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มไต โดยไม่มีเนื้อไตฉีกขาด
เกรด || มีเลือดออกในเนื้อไตชั้นนอก หรือเนื้อไตฉีกขาดไม่เกิน 1 cm.
การบาดเจ็บรุนแรง
เกรด III เนื้อไตฉีกขาดเกิน 1 cm. เข้าไปใน cortex
เกรด IV เนื้อไตฉีกขาดผ่านเข้าไปใน Corticomedullary junction และเข้าไปใน collecting system หรือมีการฉีกขาดของหลอดเลือด renal artery
เกรด V มีการฉีกขาดของเนื้อไตหลายตำแหน่ง (ไตแตก)
การบาดเจ็บของไตระยะหลัง
Urinoma คือ มีการฉีกขาดลึกของไต ที่ไม่ได้รับการเย็บซ่อมแซมตั้งแต่ในระยะแรก และมีการรั่วของน้ำปัสสาวะออกมา
Hydronephrosis คือ มีก้อนเลือดขนาดใหญ่ หลังโพรงเยื่อบุช่องท้อง ร่วมกับมีน้ำ ปัสสาวะรั่วออกมา
Arteriovenous fistula มักเกิดจากการบาดเจ็บแบบทะลุทะลวง
Renal vascular hypertension เกิดจากเลือดไหลผ่านเนื้อไตที่ตายแล้วจากการ บาดเจ็บ ทำให้ความดันในหลอดที่ไปเลี้ยงไตสูงขึ้น ทำให้หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบลง ความดันในหลอดเลือดไปเลี้ยงไตสูง
การวินิจฉัยการบาดเจ็บต่อไต
แสวงหาสิ่งที่มากระทำ (ตี ต่อย แทง รถคว่ำ)
อาการและอาการแสดง เช่น ปวดบริเวณชายโครงและมีเลือดปนในปัสสาวะ
อันตรายใดๆ ที่กระทำต่อช่องท้อง หลัง ชายโครง จากการเคลื่อนที่เร็ว ตกจากที่สูง ถูกอัดต่อย ทิ่มแทง แรงระเบิด ย่อมเกิดอันตรายต่อไต และอวัยวะอื่นๆได้ทั่วร่างกาย
การรักษา
แบ่งตามชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
ภยันตรายแบบทะลุทะลวง ต้องผ่าตัดทุกราย อาจผ่าตัด ซ่อมแซมไต หรือตัดไตทิ้งทั้งหมด
ภยันตรายแบบคู่ สามารถรักษาได้ 2 วิธี คือ
การรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยการผ่าตัด
แบ่งตามประเภทผู้บาดเจ็บ
ประเภทที่ 2 บาดเจ็บขั้นปานกลาง ควรรับไว้ในหอผู้ป่วยเพื่อดูอาการ
ประเภทที่ 1 หลังจากตรวจแล้วบาดเจ็บในขั้นน้อย ส่งกลับบ้านแล้วนัดมาติดตามผล 1-3 สัปดาห์
ประเภทที่ 3 บาดเจ็บขั้นรุนแรง ต้องรีบให้เลือด ให้น้ำเกลือ สวนปัสสาวะคาสายสวนไว้
การตรวจทางห้อง lab และตรวจพิเศษ
ตรวจทางรังสี
Ultrasonography
IVP
Plain KUB
CT scan
การบาดเจ็บของท่อไต ureteral injury
สาเหตุ
latrogenic / Intra-operative injury เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยสุดของ ureteral injury มักเกิดขณะทำการผ่าตัดในอุ้งเชิงกราน
External injury พบได้น้อยมาก
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง
จากผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
จากการตรวจพิเศษ
การตรวจทางรังสี
Intravenous pyelography (IVP) ทำให้มองเห็น ureter และเห็นตำแหน่งที่contrast leakage ได้
การบาดเจ็บของกระเพาะปัสสาวะ Bladder injury
การแตกทะลุของกระเพาะปัสสาวะอาจเกิดจากเศษกระดูกทิ่มตำ หรือแรงเฉือน (shearing force) ที่เกิดจากการเคลื่อนของกระดูกที่แตก หรือแรงกระแทกเบาๆ ขณะกระเพราะปัสสาวะเต็ม
การบาดเจ็บของกระเพาะปัสสาวะจากภยันตรายแผลทะลุทะลวง
การบาดเจ็บส่วนมากเกิดจากแรงกระทบกระแทกจากภายนอก (65%) และมักพบ ร่วมกับกระดูกเชิงกรานหัก
สาเหตุ
Blunt injury พบได้ร้อยละ 60-85 ของการบาดเจ็บทั้งหมด เกิดจากการกระแทก จากภายนอก
Penetrating injury เกิดจากการถูกยิง ถูกแทงหรืออาจเกิดขณะทำผ่าตัดบริเวณ
เชิงกราน
ประเภท
Bladder Contusion
Extraperitoneal bladder rupture
Intraperitoneal bladder rupture
การส่งตรวจทางรังสี
ystography เป็นการตรวจที่ให้ความแม่นยำ ร้อยละ 100 ในการวินิจฉัย urinary bladder injury เป็นการตรวจพิเศษทางรังสีของกระเพาะปัสสาวะ โดยการฉีดสารทึบรังสี เข้าไปในกระเพาะปัสสาวะเพื่อดูความผิดปกติ
การรักษา
Bladder contusion ให้การรักษาประคับประคองโดยใส่สายสวนปัสสาวะไว้ จนปัสสาวะใส
Penetrating injury and Intraperitoneal bladder rupture ให้การรักษาโดยการทำ surgical exploration and repair
Extraperitoneal bladder rupture ส่วนใหญ่สามารถให้การรักษา ประคับประคองโดยใส่สายสวนปัสสาวะขนาดใหญ่
การบาดเจ็บของท่อทางเดินปัสสาวะUrethral injury
เป็นปัญหาที่พบได้บ่อย ในระบบทางเดินปัสสาวะ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
Penetrating injury ได้แก่การถูกยิง หรือถูกแทง
Pathological rupture พบไม่บ่อย เช่น จะพบในท่อปัสสาวะ การอักเสบ มะเร็ง องคชาต
Crush injury ได้แก่ กระดูกเชิงกรานหัก
Straddle injury ได้แก่ การกระแทกบริเวณฝีเย็บ
การรักษาขึ้นกับชนิดของการบาดเจ็บ
urethral contusion a bleeding per meatus
2.partial laceration of urethra อาจลองใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้
3.complete laceration of urethra ห้ามใส่สายสวนปัสสาวะ
นางสาวกันต์สินี ศรีพัฒโนทัย เลขที่ 4