Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Diabetes Mellitus: DM, เซลล์ไม่ได้รับพลังงาน, สาเหตุของการเกิดโรคเบาหวาน -…
Diabetes Mellitus: DM
ชนิดของเบาหวาน
-
Type II
เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินแต่สามารถสร้างอินซูลินได้ค่อนข้างมากแต่ถูกสกัดกันไม่ให้ทำหน้าที่บางส่วนจึงทำให้น้ำตาลในเลือดสูง พบในคนอายุ 40 ปีขึ้นไป
Type III
มีสาเหตุจำเพาะ โรคที่เกิดกับต่อมมีท่อในตับอ่อน ยาและสารเคมีที่มีผลต่อเบต้าเซลล์และโรคทางระบบภูมิคุ้มกัน
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
Acute เฉียบพลัน
ภาวะที่มีกรดคั่งในกระแสเลือดจากเบาหวาน (Diabetic ketoacidosis [DKA]) มักเกิดในเบาหวานชนิดที่ 1 ที่ขาดการฉีดอินสุลิน หรือได้รับยาไม่เพียงพอ และสามารถพบได้ในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ควบคุมเบาหวานไม่ดี ร่วมกับมีภาวะติดเชื้อที่รุนแรงทำให้เกิดภาวะน้้าตาล ในเลือดสูงระดับรุนแรงและเกิดภาวะกรดเมตะบอลิค (Metabolic acidosis) จากการที่มีกรดคีโตน คั่งในร่างกาย
อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปัสสาวะมาก กระหายน้้า ดื่มน้้ามาก อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน หายใจหอบลึก ซึมลง หมดสติ และช็อก
Arterial blood gases: pH=7.33, Pa O2= 208 mmHg, HCO-3=18 mmol/L, lactate 2.5 mmol/L
-
-
ภาวะหมดสติจากระดับน้้าตาลในเลือดสูงโดยไม่มีการคั่งของกรดคีโตน
(Hyperglycemic yperosmolar non- ketotic syndrome [HHNS]) เป็นภาวะที่มีระดับน้้าตาลในเลือด สูงมากกว่า 600 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร ร่วมกับมีภาวะขาด น้้าที่รุนแรง ผู้ที่เป็น เบาหวานชนิดที่ 2 มักจะไม่มีภาวะกรดคีโตนคั่งในเลือดที่รุนแรง เนื่องจากร่างกายยังมีอินสุลินเพียง พอต่อการยับยั้งการสลายเนื้อเยื่อไขมันและการผลิตคีโตน สาเหตุส่งเสริมคือ การเจ็บป่วยแล้วไม่ รับประทานยา มีระดับน้้าตาลในเลือดสูงขึ้น เมื่อร่างกายมีอินสุลินไม่เพียงพอ จึงท้าให้ระดับน้้าตาล ในเลือดสูงมาก จนเกินขีดความสามารถในการเก็บกักของไต น้้าตาลจึงถูกขับออกมาทางปัสสาวะ ซึ่งจะดึงน้้าและอิเล็คโตรลัยท์ออกมาด้วย
-
อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปัสสาวะมากและบ่อย กระหายน้้ามีภาวะขาดน้้าอย่างรุนแรง ท้าให้มีการรับรู้สติเปลี่ยนแปลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึม สับสน หรืออาจหมดสติได้
DTX stat=650 mg%,
FBS= 670 mg/dl (70-100 mg/dL)
serum osmolarity=330 mmol/L (285-295mmol/L)
-
ผู้ป่วยหมดสติในห้องน้ำ มีปัสสาวะราด คลำพบชีพจรเบาเร็ว หายใจ เบาตื้น ผู้ป่วยซึมมาก กระตุ้นลืมตาเมื่อเจ็บ ริมฝีปากแห้ง ผิวแห้ง
Chronic เรื้อรัง
การเสื่อมของหน่วยไตจากโรคเบาหวาน (Diabetic nephropathy) เกิดจาก มีการหนาตัวขึ้นของผนังหลอดเลือดแดงฝอยส่วนนอกของโกเมอรูลัส (Glomerular basement membrane) และการขยายขนาดของเนื้อเยื่อเมซานเกียล (Mesangial tissue) ทำให้ความสามารถใน การซึมผ่าน ของหลอดเลือดสูงขึ้น ประสิทธิภาพการกรองปัสสาวะเลื่อมลง
-
พยาธิสภาพของเลือดหรือการติดเชื้อ Diabetes Heomatologic ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงทำให้เกล็ดเลือดเกาะติดกับหลอดเลือดและเกาะกลุ่มกันเองมากขึ้นเม็ดเลือดขาวเกาะกลุ่มกันทำให้การทำงานลดลง
1 สัปดาห์ก่อนมา เดินเหยียบเศษไม้มีแผลที่นิ้วกลางเท้าข้างซ้ายขนาด 0.5 cm ผู้ป่วยทำแผลเองที่บ้าน
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีไข้ หนาวสั่น ปวดแผลที่นิ้วเท้ามาก แผลบวมแดงมากขึ้น
แรกรับที่ห้องฉุกเฉิน มีแผลบริเวณเท้า ซ้ายครึ่งฝ่าเท้าบวมแดง แผลมีหนองปนเลือด
T 39.2 C WBC=20,300 cell/mm3 (N= 4,500–10,000 cell/mm3) Neutrophil= 92%(N=50-70%)
-
ภาวะแทรกซ้อนของระบบประสาทเนื่องจากน้ำตาลที่สูงนาน ๆ หลอดเลือด ฝอยที่เลี้ยงเส้นประสาทมีการหนาตัวและอุดตันทำให้เส้นประสาทบริเวณนั้น ๆ ขาดเลือดไปเลี้ยง ส่งผลให้เส้นใยประสาท (axon) และส่วนปลอกหุ้มประสาท(myeline)ถูกท้าลายการส่งกระแสประสาทช้าลงท้าให้การรับความรู้สึก(sensorimotor) ตลอดจนการตอบสนองของรีเฟล็กซ์ต่าง ๆ ลดลง มีผลต่อระบบประสาทส่วนปลายคือผู้ป่วยจะมีอาการชา ปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า และผลของอาการชาที่เป็นกับเท้า ท้าให้ไม่รู้สึกเจ็บ เมื่อเกิดแผลทำให้กว่าจะรู้ว่าเป็นแผลก็ต่อเมื่อมีการติดเชื้อลุกลามมาก
-
-
-