Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา - Coggle Diagram
สรุปองค์ความรู้ที่เรียนมา
สัญญา
ประเภทของสัญญา
สัญญาต่างตอบแทนกับสัญญาไม่ต่างตอบแทน
สัญญาต่างตอบแทนย่อมเป็นสัญญามีค่าตอบแทน
สัญญาประธานกับสัญญาอุปกรณ์
สัญญาค้ำประกัน
สัญญาจำนอง
สัญญามีค่าตอบแทนกับสัญญาไม่มีค่าตอบแทน
สัญญาซื้อขาย
สัญญาแลกเปลี่ยน
เอกเทศสัญญากับสัญญาไม่มีชื่อ
สัญญาเล่นแชร์เปียหวย สัญญาเลตเตอร์ออฟเครดิต
สัญญาทรัสต์รีซีท
สัญญาซึ่งมีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญากับสัญญาที่เพื่อประโยชน์ของบุคคลภายนอก
สัญญาย่อมมีผลผูกพันเฉพาะคู่สัญญา
สัญญาสำเร็จรูปกับสัญญาที่เป็นการเจรจาทำสัญญา
พระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
สัญญาที่ต้องมีแบบกับสัญญาที่ไม่ต้องมีแบบ
สัญญาที่ต้องมีหลักฐานเป็ นหนังสือกับสัญญาที่ไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
สัญญาที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือกับสัญญาที่ไม่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
การก่อให้เกิดสัญญา
คำเสนอ
คําเสนอ คือการแสดงเจตนาของผู้ทําคําเสนอที่มีต่อบุคคลโดย เฉพาะเจาะจงหรือเป็นการแสดงเจตนาต่อสาธารณะเพื่อขอให้บุคคลอื่นเข้า ทําสัญญาด้วย หรือทีอาจเรียกสั้น ๆ ว่าเป็นคําขอให้ทําสัญญา
ลักษณะของคำเสนอ
1.ลักษณะของคําเสนอ คําเสนอเป็นการแสดงเจตนาของผู้ทําคําเสนอขอให้บุคคลอื่นทําสัญญาด้วย
คําเสนอจะเป็นการแสดงเจตนาต่อบุคคลเฉพาะเจาะจงหรือต่อสาธารณชน ก็ได้
คําเสนอจะต้องมีข้อความที่ชัดเจนแน่นอน
คําเสนอเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา
เป็นข้อความที่แน่นอนและชัดเจน มีความมุ่งหมายว่าถ้ามีคำสนองแล้วสัญญาเกิดขึ้นทันที
ตัวอย่าง
รถเมย์วิ่งรับผู้โดยสารวิ่งตามเส้นทางปกติ เป็นคําเสนอสว่าจะรับส่งคน โดยสารตามอัตราค่าโดยสารที่กําหนดไว้ ผู้ที่ขึ้นรถไป ถือเป็นการสนอง
ถ้ามีคำสนองแล้วสัญญาเกิดขึ้นทันที
ทาบทาม = หยั่งดูประโยชน์ที่ จะขอทําสัญญา
เชื้อเชิญ = คําขอให้อีกฝ่ายทําคําเสนอกลับมา
ปรารภ = การแสดงความประสงค์จะทําสัญญา
ผลของคำเสนอ
เมื่อมีคําเสนอไปถึงผู้รับคําเสนอ ผลโดยตรง ก็คือ ผู้ทําคําเสนอย่อมต้องถูก ผูกพันตามคําเสนอที่ตนเองได้แสดงเจตนาไว้
การถอนคำเสนอ
เมื่อได้ทําคําเสนอแล้ว จะถอนคํา เสนอได้หรือไม่ต้องอยู่ภายใต้บังคับ มาตรา 354, 355 และ 356
การสิ้นความผูกพันของคําเสนอ
1.ผู้รับคําเสนอได้บอกปัดคําเสนอ
2.ผู้รับคําเสนอไม่ได้สนองรับคําเสนอภายในเวลาที่คําเสนอหรือกฎหมายกําหนดไว้
คำสนอง
ความหมายและลักษณะคำสนอง คือคำสนองเป็นนิติกรรมประเภทหนึ่ง คำสนองสนองเป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ต้องมีผู้รับการแสดงเจตนา
ลักญณะของคำสนอง
เป็นข้อความที่ชัดเจนแน่นอน
ตอบรับตามคำเสนอ = ตรงตามคำเสนอ
คําสนองเป็นการแสดงเจตนาตอบตกลงทําสัญญาของผู้รับคําเสนอ
สัญญาเกิดเมื่อใด
มาตรา 361 อันสัญญาระหว่างบุคคลซึ่งอยู่ห่างกันโดยระยะทางนั้น ย่อมเกิดเป็นสัญญาขึ้นแต่เวลาเมื่อคําบอกกล่าวสนองไปถึงผู้เสนอ ถ้าตามเจตนาอันผู้เสนอได้แสดง หรือตามปรกติ
คำมั่น
คํามั่นจะให้รางวัล
ได้มีการแสดงเจตนาโดยการโฆษณาให้คํามั่น
เป็นคํามั่นที่จะให้รางวัลแก่ผู้กระทําการอย่างใดอย่างหนึ่ง
โดยพื้นฐานไม่ใช่เรื่องสัญญา จึงไม่ต้องอาศัยการแสดง เจตนาที่ถูกต้องตรงกัน
คํามั่นจะทําสัญญา
คำมั่นจะทําสัญญา
เป็นนิติกรรมฝ่ายเดียวที่ผูกพันผู้ให้คํามั่นว่าจะทําตามสัญญาตามที่ให้คํามั่นไว้
การถอนคํามั่น
กรณีที่แสดงเจตนาในโฆษณาวาจะไม่บอกถอนคํามั่น
กรณที่ไม่ได้แสดงเจนาในโฆษณาว่าจะไม่บอกถอนคํามั่น
มัดจำเบี้ยปรับ
มาตรา 377 เมื่อเข้าทําสัญญา ถ้าได้ให้สิ่งใดไว้เป็นมัดจํา ท่านให้ถือว่าการที่ ให้มัดจํานั้นย่อมเป็นพยานหลักฐานว่าสัญญานั้นได้ทํากันขึ้นแล้ว อนึ่งมัดจํานี้ ย่อมเป็นประกันการที่จะปฏิบัติตามสัญญานั้นด้วย
ลักษณะของมัดจํา
มัดจําเป็นวิธีการชดใช้ค่าเสียหายเมื่อมีการผิดสัญญาซึ่งคู่สัญญาสามารถบังคับกันได้โดยไม่ต้องไปฟ้องคดี
มัดจําเป็นเงื่อนไขที่จะทําให้มีสิทธิฟ้องคดี เช่น สัญญาจะซื้อจะขาย อสังหาริมทรัพย์
มัดจําคือ สิ่งที่ให้ไว้เมื่อเข้าทําสัญญา
การเลิกสัญญา
หมายถึง การแสดงเจตนาเพิกถอนความผูกพันต่อกันตาม
กฎหมายทั้งหมดที่เกิดขึ้นตามสัญญา อันมีผลทําให้คู่สัญญาแต่ ละฝ่ายกลับคืนสู่ฐานะเดิม
ความหมายของสัญญา
สัญญา คือข้อตกลงของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปในการผูกพันตนเองให้ปฎิบัติตามข้อสัญญานั้น
สัญญา คือ นิติกรรมสองฝ่ายหรือหลายฝ่ายที่เกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของบุคคลอันถูกต้องตรงกัน
สัญญา เป็นบ่อเกิดแห่งหนี้อย่างหนึ่ง
หมายความว่า คู่สัญยาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรื่อทั้งสองฝ่ายมีหนี้ที่จะต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการหรือส่งมอบทรัพย์สินให้แก่อีกฝ่ายหนึ่งตามสัญญา
กฎหมายนิติกรรมสัญญา
ความสมบูรณ์ของนิติกรรม
หมายถึง นิติกรรมไม่เกิดขึ้น นิติกรรมเกิดขึ้นแต่เป็นโมฆะ นิติกรรมเกิดขึ้นแต่เป็นโมฆียะ
ความหมายของโมฆะกรรม
โมฆะ คือ เสียเปล่า ไม่ก่อให้เกิดผลในทางกฎหมาย ไม่ก่อให้เกิด ความเคลื่อนไหวแห่งสิทธิ
มาตรา 172 โมฆะกรรมนั้นไม่อาจให้สัตยาบันแก่กันได้ และผู้มีส่วนได้เสียคน หนึ่งคนใดจะยกความเสียเปล่าแห่งโมฆะกรรมขึ้นกล่าวอ้างก็ได้ ถ้าจะต้องคืนทรัพย์สินอันเกิดจากโมฆะกรรม ให้นําบทบัญญัติว่าด้วย
ลาภมิควรได้แห่งประมวลกฎหมายนี้มาใช้บังคับ
ผลของนิติกรรมที่เป็นโมฆะ (ม. 172-173-174)
โมฆะกรรม ผู้มีส่วนได้เสียยกขึ้นกล่าวอ้างได้ (ม. 172 วรรคแรก)
โมฆะกรรม การคืนทรัพย์ตามหลักลาภมิควรได้ (ม. 172 วรรคสอง)
โมฆะกรรมไม่สามารถให้สัตยาบันได้ (ม. 172 วรรคแรก)
นิติกรรมที่เป็นโมฆะแต่เพียงบางส่วน อาจแยกส่วนที่สมบูรณ์ออกได้ หากพึง
โมฆะกรรมตามนิติกรรมชนิดหนึ่งแต่อาจสมบูรณ์เป็นนิติกรรมอื่น หากพึงสันนิษฐานได้โดยพฤติการณ์แห่งกรณีว่า คู่กรณีเจตนาจะให้ส่วนที่ไม่เป็นโมฆะ นั้นแยกออกจากส่วนที่เป็นโมฆะได้ (ม. 174)
โมฆะกรรม ไม่มีบททั่วไปคุ้มครองบุคคลภายนอก มีแต่บทเฉพาะ (ต่างจากโมฆยกรรมที่มีบททั่วไปคุ้มครองบุคคลภายนอก มาตรา 1329)
ความหมายของโมมียะกรรม
โมมียะ คือ เสียเปล่า สมบูรณ์ ใช้ได้จนกว่าจะถูกบอกล้าง
ผู้มีสิทธิบอกล้างโมมียะกรรม
(1) ผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้เยาว์ซึ่งบรรลุนิติภาวะแล้ว แต่ผู้เยาว์จะบอกล้างก่อนที่ตนบรรลุนิติภาวะ ก็ได้ถ้าได้รับความยินยอมของผู้แทนโดยชอบธรรม
(2) บุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถ เมื่อบุคคลนั้นพ้นจาก การเป็นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมือนไร้ความสามารถแล้ว หรือผู้อนุบาลหรือผู้พิทักษ์
(3) บุคคลผู้แสดงเจตนาเพราะสําคัญผิด หรือถูกกลฉ้อฉล หรือถูกข่มขู่
วิธีการบอกล้างโมมียะกรรม
มาตรา 178 การบอกล้างหรือให้สัตยาบันแก่โมฆมียะกรรม ย่อมกระทําได้โดยการ แสดงเจตนาแก่คู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเป็นบุคคลที่มีตัวกําหนดได้แน่นอน
ผลของการบอกล้างโมฆียะกรรม
ม.1329“สิทธิของบุคคลผู้ได้มาซึ่งทรัพย์สินโดยมีค่าตอบแทนและโดย สุจริตนั้น ท่านว่ามิเสียไป ถึงแม้ว่าผู้โอนทรัพย์สินให้จะได้ทรัพย์สิน นั้นมา โดยนิติกรรมอันเป็นโมมียะ และนิติกรรมนั้นได้ถูกบอกล้างภายหลัง”
เงื่อนไข เงื่อนเวลา
เงื่อนไข คือ ข้อกําหนดในนิติกรรมซึ่งทําให้นิติกรรมนั้นเป็นผลหรือสิ้น ผล โดยอาศัยเหตุการณ์อันใดอันหนึ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตและไม่แน่นอน
ลักษณะสําคัญของเงื่อนไข
2.เงื่อนไขเป็นข้อกําหนดเกี่ยวกับความเป็นผลหรือสิ้นผลของนิติกรรม
1.เงื่อนไขต้องเป็นเหตุการณ์ในอนาคตและไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้น
3.เงื่อนไขต้องเป็นข้อกําหนดของบุคคล มิใช่ข้อบังคับของกฎหมาย
อายุความ
อายุความ คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดให้ใช้สิทธิเรียกร้อง สิทธิฟ้อง หรือสิทธิร้องทุกข์ หาก ปล่อยเนิ่นนานไปจนล่วงระยะเวลาดังกล่าวแล้ว สิทธิเช่นว่าจะเป็นอันยกขึ้นอ้างอีกมิได้ ซึ่งเรียกว่า "การขาดอายุความ" เช่น สิทธิเรียกร้องขาดอายุความ คดีขาดอายุความ หนี้ขาดอายุความ เป็นต้น
กำรนับระยะเวลำ
มาตรา 193/3
ถ้ากําหนดระยะเวลาเป็นหน่วยเวลาที่สั้นกว่าวันให้เริ่มต้นนับในขณะที่เริ่มการนั้น ถ้ากําหนดระยะเวลาเป็นวัน สัปดาห์ เดือนหรือปี มิให้นับวันแรกแห่งระยะเวลานั้นรวมเข้าด้วยกัน เว้นแต่จะเริ่มการในวันนั้นเองตั้งแต่เวลาที่ถือได้ว่าเป็นเวลาเริ่มต้นทําการงานกันตามประเพณี
นิติกรรมและสัญญา
นิติกรรม หมายความว่า การใด ๆ อันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมายและ ด้วยใจสมัครมุ่ง โดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้น
องค์ประกอบของนิติกรรม
การกระทำของบุคคลที่ชอบด้วยกฎหมาย
ที่มุ่งให้เกิดผลทางกฎหมายขึ้นระหว่าง
บุคคล
ผลทางกฎหมายที่มุ่งให้เกิดนั้นอาจจะเป็นประการหนึ่งประการใดดังต่อไปนี้ คือ ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน
ระงับสิทธิ
หมายถึง การทำให้สิทธิที่เคยมีอยู่หมดสิ้น ไป
โดยสิ้นเชิง เช่น การตกลงเลิกสัญญา
สงวนสิทธิ
หมายถึง รักษาสิทธิที่มีอยู่แล้ว แต่ก าลังจะหมดไป ให้
ยังคงมีอยู่ต่อไป เช่น การทำหนังสือรับสภาพหนี้ การชำระหนี้
สรุป นิติกรรม ได้แก่ การกระทำ(การแสดงเจตนา)
เพื่อให้เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน กับ นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมฝ่ายเดียว กับ นิติกรรมสองฝ่าย
นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทำยังมีชีวิตอยู่ กับ นิติกรรมที่มีผลเมื่อผู้ทำยังตายแล้ว
เงื่อนไขความสมบูรณ์แห่งนิติกรรม
แบบแห่งนิติกรรม
วัตถุประสงค์ของนิติกรรม
ความสามารถของบุคคล
ความบริสุทธิ์ในการแสดงเจตนา
แบบของนิติกรรม
ทำเป็นหนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ทำเป็นหนังสือ
จดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ทำเป็นหนังสือ และจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ผลของนิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ขัดต่อกฎหมาย
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็นการต้องห้ามตามกฎหมายเป็นการพ้นวิสัย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนย่อมเป็นโมฆะ ตาม มาตรา 150
เจตนาในการทำนิติกรรม
เจตนาของผู้ทำนิติกรรม
เจตนาที่กฎหมายจะรับรอง ต้องเป็นเจตนาที่บริสุทธ
การแสดงเจตนาที่ไม่บริสุทธิ์
การแสดงเจตนาที่ในใจจริงของผู้แสดงไม่ได้ต้องการที่จะ
ผูกพันตามที่ตนได้แสดงออกมาเลย
การแสดงเจตนาที่ในใจจริงของผู้แสดงต้องการที่จะผูกพัน
ตามที่ตนได้แสดงออกมา แต่เกิดขึ้นโดยเข้าใจผิดในข้อเท็จจริง
การแสดงเจตนาที่ความประสงค์แท้จริงไม่ต้องการผูกพัน
แต่แสดงออกมาว่าผูกพัน
การแสดงเจตนาซ่อนเร้น (ม. 154)
การแสดงเจตนาลวง(ม. 155)
นิติกรรมอ าพราง(ม. 155 วรรค 2)
คือ การแสดงเจตนาลวงโดยสมรู้กับคู่กรณีโดยท านิติกรรมสองอันอันหนึ่งท าให้ปรากฏออกเพื่อปิดบังนิติกรรมอีกอันหนึ่งที่คู่กรณีประสงค์จะให้ มีผลบังคับในระหว่างกัน
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิด
เป็นการแสดงเจตนาซึ่งไม่ตรงกัน ระหว่าง เจตนาที่แท้จริง
ภายใน กับ เจตนาที่แสดงออกมา
การแสดงเจตนาเพราะถูกกลฉ้อฉล
การใช้อุบายหลอกลวงให้บุคคลอื่นหลงเชื่อในสิ่งที่
ไม่เป็นความจริง เพื่อให้เขาได้แสดงเจตนา
การแสดงเจตนาเพราะถูกข่มขู่
การบังคับให้เกิดความกลัวภัย เพื่อให้บุคคลที่ถูกข่มขู่
แสดงเจตนาท านิติกรรม
เจตนาลวง
มีความมุ่งหมายที่จะคุ้มครองบุคคลภายนอกเพื่อป้องกันมิให้คู่กรณีสมรู้กันทำอะไรขึ้นมาเอง
นิิติกรรมอำพราง
มุ่งคุ้มครองคูกรณีไม่ให้โกงกันเอง