Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สอนเขียนอย่างไร, นางสาวพรรณกาญจน์ แก่ประโคน 63121010121 Section 02 -…
สอนเขียนอย่างไร
องค์ประกอบของการเขียน
ความกระชับ คือการใช้ถ้อยคําน้อยความหมายชัดเจน
ความประทับใจ คือ การใช้ถ้อยคําเร้าความรู้สึกของผู้อ่าน
ความเรียบง่าย คือ ไม่ใช้คําฟุ่มเฟือย
ความไพเราะ คือ การเลือกใช้คําที่ราบรื่นไพเราะหู
ความชัดเจน คือสื่อความหมายได้ตรง
การสร้างภาพ คือ การใช้คําที่มองเห็นภาพ
โครงสร้างของประโยค
การจัดการเรียนรู้
ให้นักเรียนเขียนเป็น
. เขียนคํา กลุ่มคําและประโยคจากภาพ
เขียนลําดับเหตุการณ์ของเรื่อง
ให้นักเรียนฝึกเขียนข้อคําถามใคร
เขียนไปให้มากมาย
เขียนถึงใครต่อใครในชุมชน
เขียนความคิดออกมาเป็นประโยค
การสอนเขียนควรมีหลักการไว้ดังนี้
ครูควรปลูกฝังให้ผู้เรียน ตระหนักในคุณค่าของการ
เขียนที่ดี ที่ใช่สื่อสาร
การสอนแต่ละครั้ง ครู ต้องตั้งจุดประสงค์ในแต่ละ ครั้งอย่างชัดเจน
ก่อนสอนครูควรตรวจความสามารถในการเขียนของนักเรียน
การสอนเขียนครู ไม่ควรกําหนดหัวเรื่อง ตายตัว ควรให้นักเรียน
และเลือกหัวเรื่องเอง
ควรสอนทักษะการเขียน ให้สัมพันธ์กับวิชาอื่นๆ
วิธีแก้ปัญหานักเรียนที่เขียนไม่เป็น
หรือเขียนความคิดไม่ได้
ให้นักเรียนเล่นเกมต่างๆ ที่เกี่ยวกับการสร้างประโยค
ให้นักเรียนฝึกเขียนภาพสัตว์ คน ที่ครูกําหนด
ฝึกเขียนข้อความโดยใช้คําพูดที่ครูกําหนดให้หลาย ๆ คํา
ฝึกเขียนความในใจถึงเพื่อนหรือเขียนเรื่องที่สร้างสรรค์
ให้นักเรียนฝึกแต่ง ประโยคเป็นประจํา บ่อยๆ
วิธีสอนให้นักเรียนเขียนได้
เขียนคล่อง คือการเขียนคําที่ต้องการเขียนนั้น
ได้อย่างคล่องแคล่ว ได้เร็ว และถูกต้อง
ตามหลักการสะกดคํา
การเขียนได้คือการเขียนพยัญชนะ สระ
ให้เป็นคําได้ตามต้องการ
เขียนเร็ว คือสามารถในการใช้ทักษะการเขียน
เขียนคํา สะกดและเรื่องราวได้อย่างรวดเร็ว
การเขียนเป็น คือการเขียนเพื่อการสื่อสาร
นางสาวพรรณกาญจน์ แก่ประโคน 63121010121 Section 02