Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สื่อโฆษณากับสุขภาพ, มาตรฐาน พ 4.1 พ 4.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโฆษ…
สื่อโฆษณากับสุขภาพ
บทบาทของผู้เกี่ยวข้องกับสื่อโฆษณา
เด็กและเยาวชน
พ่อแม่ ผู้ปกครอง
โรงเรียน และสถาบันศึกษาต่างๆ
ช่องทางสื่อ
ผู้ผลิตสื่อโฆษณา
หน่วยงานภาครัฐ
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติอาหาร
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติยา
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติเครื่องอำอาง
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท
การโฆษณาตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
หากผู้บริโภครับประทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แล้วมีอาการผิดปกติหรือพบผลิตภัณฑ์ที่ต้องสงสัย สามารถแจ้งร้องเรียนได้ที่
สายด่วน อย. 1556
oryor smart application
E-mail :
1556@fda.moph.go.th
ตู้ ปณ. 1566 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11000
ความสำคัญของสื่อโฆษา
ทัศนคติ
ค่านิยม
พฤติกรรมของผู้บริโภค
ข้อความเชิญชวนตามสื่อโฆษณา
การใช้ข้อมูลที่เกินจริงหรือไม่
ความต้องการ ความอยากได้
ประเภทของสื่อโฆษา
สื่อสิ่งพิมพ์
วารสาร
นิตยสาร
แผ่นพับ
โปสเตอร์
สื่อสารมวลชน
หนังสือพิมพ์
วิทยุ
โทรทัศน์
สื่อบุคคล
ครู
วิทยากร
ผู้ที่มีชื่อเสียง
สื่ออินเตอร์เน็ต
เฟซบุ๊ก
ไลน์
เว็บไซต์
เกมออนไลน์
สื่อกิจกรรม
การจัดแถลงข่าว
สื่ออื่นๆ
สื่อวีดิทัศน์
สื่อป้ายโฆษนากลางแจ้ง
สื่อโฆษนาเคลื่อนที่
ลักษณะของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
ข่าวสาร
ช่องทางสื่อสาร
ผู้รับข่าวสาร
อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
ด้านสุขภาพทางกาย
ด้านสุขภาพทางจิต
ด้านสุขภาพทางสังคม
ด้านสุขภาพทางปัญญา
หลักการพิจารณาสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
ฝึกแยกแยะสื่อทางบวกและทางลบ
คำนึกถึงความเป็นจริง
มีความไวในการรับสื่อ
ไม่หลงเชื่อง่าย
ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
อาหาร
กิน
ดื่ม
นำเข้าสู่ร่างกาย แต่ไม่รวมถึงยา
เครื่องสำอาง
ทา
ถู
นวด
โรย
พ่น
ยา
การบำบัดรักษา
บรรเทา
ป้องกันโรค
ยาได้มากจาก 2 แหล่งด้วยกัน
ยาสมุนไพร
ยาสังเคราะห์
ความหมายของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของสินค้าหรือบริการต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพ
วารสาร
นิตยสาร
แผ่นพับ
รวมทั้งการโฆษณาผ่านสื่อมวลชลต่างๆ
หนังสือพิมพ์
สื่ออินเตอร์เน็ต
วิทยุโทรทัศน์
มาตรฐาน พ 4.1 พ 4.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพเพื่อการเลือกบริโภค