Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ - Coggle…
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗
มาตรา ๑
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗”
มาตรา ๒
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
(๑) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓
(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๓๘
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและ แต่งตั้งตามพระราชบัญญัตินี้ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน
“ข้าราชการครู” หมายความว่า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน
“คณาจารย์” หมายความว่า บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐ
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษารวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ท าหน้าที่ให้บริการ
“เขตพื้นที่การศึกษา” หมายความว่า เขตพื้นที่การศึกษาตามประกาศกระทรวง
“วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพครู วิชาชีพบริหารการศึกษา และวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น
“หน่วยงานการศึกษา” หมายความว่า
(๕) หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการหรือตามประกาศกระทรวง
(๑) สถานศึกษา
(๒) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(๓) สำนักงานการศึกษานอกโรงเรียน
(๔) แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศของ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ
“ส่วนราชการ” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐที่มีฐานะเป็นกรมหรือเทียบเท่ากรม
“หัวหน้าส่วนราชการ” หมายความว่า ปลัดกระทรวง เลขาธิการ อธิบดี
“กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ
“รัฐมนตรีเจ้าสังกัด” หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงในกระทรวงที่มีข้าราชการในสังกัด
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๕ บรรดาคำว่า “ข้าราชการพลเรือน” ที่มีอยู่ในกฎหมายให้หมายความรวมถึงข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาด้วย
มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑
คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๗ ให้มี“คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดย ย่อว่า “ก.ค.ศ.”
มาตรา ๘ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้
(๑) มีสัญชาติไทย
(๒) มีอายุไม่ต่ำกว่าสามสิบห้าปีบริบูรณ์ และไม่เกินเจ็ดสิบปีบริบูรณ
(๓) ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
(๔) ไม่เป็นสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น
(๕) ไม่เป็นเจ้าหน้าที่ ที่ปรึกษา หรือผู้มีตำแหน่งบริหารในพรรคการเมือง
(๖) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม
มาตรา ๙ กรรมการผู้แทนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
(๒) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม
มาตรา ๑๐ กรรมการผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
(๒) มีประสบการณ์ด้านการบริหารในตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาาเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม
มาตรา ๑๑ กรรมการผู้แทนข้าราชการครูต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๒) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนในวิทยฐานะไม่ต่ำกว่าครูชำนาญการ
(๑) มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม
มาตรา ๑๒ กรรมการผู้แทนบุคลากรทางการศึกษาอื่นต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(๒) มีประสบการณ์ด้านสนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการสอน
(๓) เป็นผู้ที่ได้รับการยอมรับในเรื่องความซื่อสัตย์ ความยุติธรรม
มาตรา ๑๓ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการผู้แทนข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสี่ปี
มาตรา ๑๔ นอกจากการพ้นจากต าแหน่งตามวาระ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจาก ตำแหน่งเมื่อ
(๑) เป็นคนไร้ความสามารถ
(๓) เป็นบุคคลล้มละลาย
(๒) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตำแหน่งตามวาระ กรรมการผู้แทนข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาพ้นจากตำแหน่งเมื่อ
(๑) ลาออกโดยยื่นหนังสือลาออกต่อประธานกรรมการ
(๒) พ้นจากการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
มาตรา ๑๖ การประชุม ก.ค.ศ. ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวน กรรมการทั้งหมดจึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๑๗ ก.ค.ศ. มีอำนาจตั้งคณะอนุกรรมการวิสามัญ ทำหน้าที่เช่นเดียวกับคณะอนุกรรมการอื่น
มาตรา ๑๘ ภายใต้บังคับมาตรา ๑๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจะเป็น กรรมการใน ก.ค.ศ.
มาตรา ๑๙ ให้ ก.ค.ศ. มีอำนาจและหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๑) เสนอแนะและให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบายการผลิต
(๒) กำหนดนโยบาย วางแผน และกำหนดเกณฑ์อัตรากำลังของข้าราชการคร
มาตรา ๒๐ ให้มีสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
สำนักงาน ก.ค.ศ. มีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) เป็นเจ้าหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินงานในหน้าที่ของ ก.ค.ศ.
(๒) พัฒนาระบบข้อมูล
(๓) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๒๑ ให้มีคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประจำเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
มาตรา ๒๒ การประชุมของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ให้นำความในมาตรา ๑๖ มาใช้บังคับโดยอนุโลม
มาตรา ๒๓ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทางวินัย
(๒) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ
มาตรา ๒๔ ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นผู้บริหารราชการใน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มาตรา ๒๕ ในส่วนราชการอื่นนอกจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ ก.ค.ศ. ตั้ง อ.ก.ค.ศ. เพื่อทำหน้าที่บริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการครู
มาตรา ๒๖ ให้คณะกรรมการสถานศึกษา มีอำนาจและหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารงาน บุคคลสำหรับข้าราชการครู
มาตรา ๒๗ ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครู มีอำนาจและหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(๑) พิจารณาเสนอความดีความชอบของข้าราชการครู
(๒) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้
มาตรา ๒๘ ให้ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
หมวด ๒
บททั่วไป
มาตรา ๒๙ การดำเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการ บ้านเมืองที่ดีโดยยึดถือระบบคุณธรรม
มาตรา ๓๐ ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยสภาครู บุคลากรทางการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติทั่วไป ดังต่อไปนี้
มาตรา ๓๑ อัตราเงินเดือน เงินวิทยฐานะ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน เงินวิทยฐานะ
มาตรา ๓๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาอาจได้รับเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่ มีเหตุพิเศษ
มาตรา ๓๒ เพื่อประโยชน์ในการออมทรัพย์ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา ให้กระทรวงการคลังหักเงินเดือน าเป็นเงินสะสมก็ได้
มาตรา ๓๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจได้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพ
มาตรา ๓๕ วันเวลาำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
มาตรา ๓๖ เครื่องแบบของข้าราชการครู ให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๓๗ บำเหน็จบำนาญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น
หมวด ๓
การกำหนดตำแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง
มาตรา ๓๘ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามี ๓ ประเภทดังนี้
ก. ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา
ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา
ค. ตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น
มาตรา ๓๙
ให้ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาดังต่อไปนี้ เป็นตำแหน่ง ที่มีวิทยฐานะ ได้แก่
ก. ตำแหน่งครู
ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา
ค. ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา
ง. ตำแหน่งศึกษานิเทศก์
จ. ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนดให้มีวิทยฐานะ
มาตรา ๔๐ ให้ตำแหน่งคณาจารย์ดังต่อไปนี้ เป็นตำแหน่งทางวิชาการ
(ก) อาจารย์
(ค) รองศาสตราจารย์
(ง) ศาสตราจารย์
(ข) ผู้ช่วยศาสตราจารย์
มาตรา ๔๑ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จะมีในหน่วยงาน การศึกษาใดจำนวนเท่าใด ให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
มาตรา ๔๒ ให้ ก.ค.ศ. จัดทำมาตรฐานตำแหน่ง มาตรฐานวิทยฐานะ
มาตรา ๔๓ ให้ ก.ค.ศ. หรือผู้ที่ ก.ค.ศ. มอบหมายตรวจสอบการกำหนดตำแหน่งให้เหมาะสม
มาตรา ๔๔ ให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะตามกฎหมาย
หมวด ๔
การบรรจุและการแต่งตั้ง
มาตรา ๔๕ การบรรจุบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู ให้บรรจุและแต่งตั้งจากผู้สอบแข่งขันได้สำหรับตำแหน่งนั้น
มาตรา ๔๖ ผู้สมัครสอบแข่งขันเพื่อบรรจุและแต่งตั้งเป็นข้าราชการครู ต้องมีคุณสมบัติทั่วไปตามมาตรา ๓๐
มาตรา ๔๗ ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้ดำเนินการสอบแข่งขันเพื่อบรรจุ
มาตรา ๔๘ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานการศึกษาอาจรับสมัคร สอบแข่งขันเฉพาะบุคคลที่มีคุณสมบัติพิเศษในสาขาวิชาใดได
มาตรา ๔๙ ผู้ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งเข้ารับราชการหากภายหลังปรากฏว่าผู้นั้นขาดคุณสมบัติทั่วไปสั่งให้ผู้นั้นออกจากราชการโดยพลัน
มาตรา ๕๐ ในกรณีที่มีความจำเป็นหรือมีเหตุพิเศษที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาไม่สามารถดำเนินการสอบแข่งขันได้ ให้ใช้วิธีอื่นได้
มาตรา ๕๑ หน่วยงานการศึกษาใดมีเหตุผลและความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์แก่ ราชการ
มาตรา ๕๒ นอกจากการบรรจุและแต่งตั้งเพื่อให้บุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครู บางำแหน่งเป็นสัญญาจ้าง
หมวด ๕
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ
มาตรา ๗๒ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครู
มาตรา ๗๓ การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณา
มาตรา ๗๔ ให้ ก.ค.ศ. กำหนดขั้นเงินเดือนประสิทธิภาพของตำแหน่งข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาในตำแหน่งที่มีวิทยฐานะ
มาตรา ๗๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มี ผลงานดีเด่นเป็นที่ประจักษ์ให้ยกย่องเชิดชูเกียรติตามควรแก่กรณี
มาตรา ๗๖ ให้ส่วนราชการและหน่วยงานการศึกษามีหน้าที่จัดสวัสดิการให้แก่ ข้าราชการครู
มาตรา ๗๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถึงแก่ความตายอันเนื่องมาจาก การปฏิบัติหน้าที่ราชการ
มาตรา ๗๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดได้รับการบรรจุให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งภาระงาน มาตรฐานคุณภาพงาน
มาตรา ๗๙ ให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา
มาตรา ๘๐ ให้มีการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งบางตำแหน่งและบางวิทยฐานะ
มาตรา ๘๑ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุนผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา โดย การให้ไปศึกษา ฝึกอบรม ดูงาน
หมวด ๖
วินัยและการรักษาวินัย
มาตรา ๘๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้าม
มาตรา ๘๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
มาตรา ๘๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความ ซื่อสัตย์สุจริต
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไป ตามกฎหมาย
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไป ตามกฎหมาย
มาตรา ๘๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตน ให้แก่ทางราชการและผู้เรียน
มาตรา ๘๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ ผู้เรียน ชุมชน
มาตรา ๘๙ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือ ร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
มาตรา ๙๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่น หาประโยชน์
หมวด ๗
การดำเนินการทางวินัย
มาตรา ๙๘ การดำเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาซึ่งมี กรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย
มาตรา ๙๙ เมื่อได้ดำเนินการสอบสวนผู้ถูกกล่าวหาตามมาตรา ๙๘ แล้ว ถ้าฟังได้ว่าผู้ ถูกกล่าวหามิได้กระทำผิดวินัย ให้สั่งยุติเรื่อง
มาตรา ๑๐๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวินัยไม่ร้ายแรง ให้ผู้บังคับบัญชาสั่งลงโทษภาคทัณฑ
มาตรา ๑๐๑ ให้กรรมการสอบสวนเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๐๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดมีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทำหรือละเว้นกระทำการใดที่พึงเห็นได้ว่าเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
หมวด ๘
การออกจากราชการ
มาตรา ๑๐๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
มาตรา ๑๐๘ นอกจากกรณีตามวรรคสี่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใด ประสงค์จะลาออกจากราชการให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชา
มาตรา ๑๐๘ นอกจากกรณีตามวรรคสี่ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใด ประสงค์จะลาออกจากราชการให้ยื่นหนังสือขอลาออกต่อผู้บังคับบัญชา
หมวด ๙
การอุทธรณ์และการร้องทุกข์
มาตรา ๑๒๑ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษภาคทัณฑ์ ตัด เงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน ให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อ อ.ก.ค.ศ.
มาตรา ๑๒๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดถูกสั่งลงโทษปลดออก ไล่ ออกหรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ ให้มีสิทธิอุทธรณ์หรือร้องทุกข์
มาตรา ๑๒๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดเห็นว่าตนไม่ได้รับความเป็นธรรม ให้ร้องทุกข์ได้
มาตรา ๑๒๔ หลักเกณฑ์และวิธีการในเรื่องที่เกี่ยวกับการอุทธรณ์และพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์และพิจารณาร้องทุกข์ตามมาตตรา ๑๒๑,๑๒๒ และ ๑๒๓
บทเฉพาะกาล
มาตรา ๑๒๗ ในระหว่างที่ยังมิได้ดำเนินการให้มี ก.ค.ศ. ให้ ก.ค. ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ท าหน้าที่เป็น ก.ค.ศ.
มาตรา ๑๒๘ ให้ ก.ค. ซึ่งทำหน้าที่ ก.ค.ศ. ตามมาตรา ๑๒๗ ดำเนินการสรรหาบุคคลที่ เหมาะสม เพื่อเสนอต่อรัฐมนตรีแต่งตั้งเป็น ก.ค.ศ. ชั่วคราว และ อ.ก.ค.ศ.
มาตรา ๑๒๙ หน่วยงานทางการศึกษาใดที่ได้มีการกำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ให้ถือว่าเป็นหน่วยงานการศึกษาตามพระราชบัญญัติน
มาตรา ๑๓๐ ข้าราชการครูตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ที่ ดำรงตำแหน่งอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
มาตรา ๑๔๐ ในกรณีที่ ก.ค. ตั้ง อ.ก.ค. วิสามัญ และ อ.ก.ค. วิสามัญเฉพาะกิจขึ้นปฏิบัติ หน้าที่ใดๆ แทน ก.ค.