Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542 - Coggle Diagram
พระราชบัญญัติ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ 2542
หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตราที่ 9 จัดระบบโครงสร้าง พัฒนากระบวนการศึกษา
มาตราที่ 8 จัดการศึกษาโดยการพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
มาตราที่ 7 มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องของประชาธิปไตย
มาตราที่ 6 เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่การศึกษา
มาตราที่ 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
มาตราที่ 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์ปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตราที่ 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตราที่ 13 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์จากทางรัฐ
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
มาตราที่ 15 การจัดการการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตราที่ 16 การศึกษาในระบบ มีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาอุดมศึกษา
มาตราที่ 17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็ก ซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ด เข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่ สิบหก
มาตราที่ 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา
มาตราที่ 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย สถาบันวิทยาลัย หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตราที่ 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐ ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฏหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตราที่ 21 กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการ และความชำนาญของหน่วยงานนั้นได้
หมวดที่ 4 แนวทางจัดการศึกษา
มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
มาตราที่ 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม
มาตราที่ 24 การจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มาตราที่ 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงาน และการจัดตั้งแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตราที่ 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
มาตราที่ 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย
มาตราที่ 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่างๆ รวมทั้งหลักสูตรการศึกษาสำหรับบุคคล
มาตราที่ 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชนส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน
มาตราที่ 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งกาส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับบการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
มาตราที่ 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและกำกับดูแลการศึกษาทุกระดับ
มาตราที่ 33 สภาการศึกษา
มาตราที่ 34 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานมีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐาน
มาตราที่ 35 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
มาตราที่ 36 ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีเป็นนิติบุคคล
มาตราที่ 37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตราที่ 38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแล
มาตราที่ 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านงบประมาณ วิชาการ
มาตราที่ 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตราที่ 41 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการภายในท้องถิ่น
มาตราที่ 42 ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตราที่ 51 ในกรณีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตราที่ 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
มาตราที่ 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ
มาตราที่ 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดใหระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตราที่ 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตราที่ 52 ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์
มาตราที่ 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษามีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
มาตราที่ 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู โดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ
มาตราที่ 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
มาตราที่ 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนา มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตราที่ 57 ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตราที่ 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา
มาตราที่ 61 ให้รัฐจัดสรรเงินทุนอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล ครอบครัว
มาตราที่ 60 ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา
มาตราที่ 59 ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการปกครอง ดูแล บำรุงรักษา
มาตราที่ 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีการศึกษา
มาตราที่ 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้างพื้นฐาน ที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง
มาตราที่ 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียนหนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์
มาตราที่ 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ
มาตราที่ 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้
มาตราที่ 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตราที่ 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำไร
มาตราที่ 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนส่งเสริมและประสานการวิจัย