Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542, Link Title, ส่วนที่ 1…
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
มาตรที่ 18 การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จัดในสถานศึกษา
มาตราที่ 19 การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาให้จัดในมหาวิทยาลัย
สถาบันวิทยาลัย หรือหน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น
มาตรที่ 17 ให้มีการศึกษาภาคบังคับจำนวนเก้าปี โดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบ
มาตราที่ 20 การจัดการอาชีวศึกษา การฝึกอบรมวิชาชีพ ให้จัดในสถานศึกษาของรัฐให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
มาตราที่ 16 การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และการศึกษาอุดมศึกษา
มาตราที่ 15 การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
มาตราที่ 21กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจจัดการศึกษาเฉพาะทางตามความต้องการและความชำนาญของหน่วย
หมวดที่ 2 สิทธิและหน้าที่การศึกษา
มาตราที่ 10 การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและ โอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตราที่ 11 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับ
มาตราที่12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว มีสิทธิในการจัดกรศึกษขั้นพื้นฐาน
มาตรที่ 13 บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์จากทางรัฐ
หมวดที่ 1 ความมุ่งหมายและหลักการ
มาตราที่ 7 มุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องของประชาธิปไตย
มาตราที่ 8 จัดการศึกษาโดยการการพัมนาการเรียนอยู่อย่างต่อ
มาตรที่ 9 จัดระบบ โครงสร้าง พัฒนากระบวนการศึกษา
มาตราที่ 6 เพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมุษย์ที่สมบูรณ์
หมวดที่ 6 มาตรฐานและประกันคุณภาพ
มาตราที่ 51 ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่กำหนดให้สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา
มาตรที่ 50 ให้สถานศึกษาให้ความร่วมมือในการจัดเตรียมเอกสารหลักฐานต่างที่มีข้อมูลเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา
มาตราที่ 49 ให้มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา มีฐานะเป็นองค์การมหาชนทำหน้าที่พัฒนาเกณฑ์
มาตราที่ 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการ
ประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
มาตราที่47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนา
คุณภาพและ
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร
มาตราที่ 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อให้มีควมรู้ ความสามารถ
มาตราที่ 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนา
แบบเรียนหนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์
มาตราที่ 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถ ในการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้
มาตราที่ 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำ และโครงสร้าง
พื้นฐานอื่นที่จำเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง
มาตราที่ 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการ
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรที่ 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทค โนโลยี
เพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุนของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำไร
มาตราที่ 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พิจารณาเสนอ
นโยบาย แผนส่งเสริมและประสานการวิจัย
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
มาตราที่ 56 การผลิตและพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรทางการ
ศึกษา การพัฒนา มาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ
มาตรที่ 57 ให้หน่วยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนให้มีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาโดยนำประสบการณ์
มาตราที่ 55 ให้มีกฎหมายว่าด้วยเงินเดือน ค่าตอบแทน สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลอื่น
มาตราที่ 54 ให้มีองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูโดยให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ
มาตราที่ 53 ให้มีองค์กรวิชาชีพครู ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษามีฐานะเป็นองค์กรอิสระภายใต้การบริหารของสภาวิชาชีพ
มาตรที่52 ให้กระทรวงส่งเสริมให้มีระบบ กระบวนการผลิต การ
พัฒนาครู คณาจาร
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการสื่อสาร
มาตราที่ 59 ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็นนิติบุคคล มีอำนาจในการ
ปกครอง ดูแล บำรุงรักษา
มาตรที่ 60 ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความสำคัญสูงสุดต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศโดยจัดสรรเป็นเงินงบประมาณเพื่อการศึกษา
มาตราที่ 61 ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาที่จัดโดยบุคคล
ครอบครัว
มาตราที่ 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ
การเงิน
มาตราที่ 62 ให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการใช้จ่ายงบประมาณการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับหลักการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจาก
พัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
มาตรา 25 รัฐต้องส่งเสริมการดำเนินงานและการจัดตั้งแหล่งการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตทุกรูปแบบ
มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนดหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
มาตรา 28 หลักสูตรการศึกษาระดับต่าง ๆ รวมทั้งหลักสูตรการ
ศึกษาสำหรับบุคคล
มาตรา 23 การจัดการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสำคัญทั้งความรู้คุณธรรม
มาตราที่ 29 ให้สถานศึกษาร่วมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชนส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ภายในชุมชน
มาตราที่ 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
มาตราที่ 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพรวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา
หมวดที่ 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตราที่ 34 คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนามาตรฐาน
มาตราที่ 35 สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักงานคณะกรรม
การกฤษฎีกา
มาตราที่ 33 สภาการศึกษา
มาตราที่ 36 ให้สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเป็น
นิติบุคคล
มาตราที่ 31 กระทรวงมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับ
การส่งเสริมและกำกับดูแลกำรศึกษาทุกระดับ
มาตราที่ 37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขต
พื้นที่การศึกษาโดยคำนึงถึงระดับของกรศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตราที่ 38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอำนาจหน้าที่ในการกำกับดูแล
มาตราที่ 39 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการ
ศึกษา ทั้งด้านงบประมาณ วิชาการ
มาตราที่ 40 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษา
มาตราที่ 42 ให้กระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินความพร้อม
ในการจัดการศึกษา
มาตราที่ 41 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่งหรือทุกระดับตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการภายในท้องถิ่น
Link Title
ส่วนที่ 1 การบริหารและการจัดการศึกษาของรัฐ
ส่วนที่ 2 การบริหารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น