Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกทำเลที่ตั้งและลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค
ภาคอีสาน
การเลือกทำเลที่ตั้ง
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินปนทรายที่ไม่อุ้มน้ำ
สถานที่ตั้งบ้านเรือนต่างกันไป
ราบลุ่ม
ใกล้แหล่งน้ำ
ที่ดินมีน้ำซับหรือชายป่า
ลักษณะของเรือนไทย
เรือนถาวร
เรือนเครื่องสับ
หลังคาจั่ว
มีหน้าต่างบานเล็กๆ
เรือนตั้งต่อดิน
เรือนแฝดใต้ถุนสูง
มีเรือนไฟและร้านน้ำ คล้ายเรืนเกย
เรือนกึ่งถาวร
เรือนเครื่องผูกหรือผสมเรือนเครื่องสับเป็นเรือนของเชย
ภาคเหนือ
บริเวณที่ราบลุ่มริมแม่น้ำระหว่างหุบเขา
ฝาย ระบบที่ชลประทานจัด
เพื่อให้มีน้ำใช้ในการเกษตร
มีชายคาลาดคลุมลงมาต่ำถึงตัวเรือนการวางตัวเรือนหันข้างเรือนไปทางทิศตะวันออกตอนตก
ไม้กาแล
หลังคามุงด้วยแผ่นไม้หรือกระเบื้องดินเผา
เหนือประตูห้องนอนประดับหัมยนต์
ภาคใต้
ส่วนใหญ่อาศัยน้ำบ่อหรือน้ำพัง
ไม่นิยมใช้น้ำจากแม่น้ำลำคลอง
เรือนไทยพุทธ
มีขนาดใหญ่
ไม่ยกพื้นสูง
มีชายคายืนยาวช่องหน้าต่างน้อย
มุงหลังคาด้วยกระเบื้องดินเผา
เรือนไทยมุสลิม
หลังคาเป็นทรงจั่ว ส่งปั้นหยาหรือทรงมนิลา
สะท้อนสถาปัตยกรรมพื้นบ้านและวัฒนธรรมอิสลาม
ภาคกลาง
การเลืกทำเลที่ตั้ง
บ้านเรือนมักสร้างอยู่ริมแม่น้ำ
แนวยาวไปตลอดทั้งสองฝั่งของลำน้ำ
เรือนคหบดี
เป็นเรือนหมู่ขนาดใหญ่
เรือนใหญ่
เรือนรี
เรือนขวาง
เรือนครัว
หอนก
เรือนครอบครัวขยาย
พ่อแม่ปลูกเรือนให้ลูกสาวและลูกเขยอยู่ต่างหาก 1 หลัง
เรือนครอบครัวเดี่ยว
เป็นเรือนขนาดเล็ก
เรือนนอน 1 หลัง เรือนครัว 1 หลัง
นาย ยุทธการ ขัดปัญญา เลขที่ 17 ม.4/7