Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พรบ.พัสดุ - Coggle Diagram
พรบ.พัสดุ
การบริหารพัสดุ
1.การเก็บ
2.การบันทึก
3.การเบิกจ่าย
4.การยืม
5.การตรวจสอบ
6.การบำรุงรักษา
7.
การจำหน่ายพัสดุ
จำหน่ายไม่ใช้ทำลาย*
1.ขาย
2.แลกเปลี่ยน
3.โอน
4.แปรสภาพหรือทำลาย
การจำหน่ายเป็นสูญ
1.ราคาซื้อไม่กินล้าน ให้ หน.หน่วยงานพิจารณา
2.ราคาซื้อมาเกินล้าน เป็นอำนาจของ ก.คลัง
ราคากลาง
1.คกก.ราคากลางกำหนด
2.ฐานข้อมูลราคาอ้างอิง กรมบัญชีกลาง
3.ราคามาตรฐาน สำนักงบ หนือหน่วยงานกลางอื่น
4.สืบราคาท้องตลาด
5.ราคา 2 ปีย้อนหลัง
1-3 เรียงตามลำดับ
4-5 เลือกที่หน่วยงานได้ประโยชน์
ทั่วไป หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
เพื่อเป็นกรอบการปฏิบัติงานที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน
จุดมุ่งหมาย พรบ
เปิดเผยข้อมูลต่อสาธราณชน
โปร่งใส เปิดโอกาสแข่งขันเป็นธรรม
คุ้มค่า โปร่งใน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตรวจสอบได้
มี 4 หลัก
การมิให้ใช้บังคับ กาจัดซื้อจัดจ้างทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน
**ตราเป็น พรฎ. ตามข้อเสนอของ คกก.นโยบาย
การใช้บังคับ หรือไม่ใช้บังคับ
หลักในการจัดซื้อจัดจ้าง
ความหมายของพัสดุ
สินค้า บริการ งานก่อสร้าง จ้างที่ปรึกษา งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงาน
5 ประเภท
คณะกรรมการ
กนบ.
กรท.
กวจ.
ค.ป.ท.
กอร.
ประเภทของการจัดซื้อจัดจ้าง
1.การซื้อจ้างเช่าแลกเปลี่ยน หรือโดยนิติกรรมอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
2.การจ้างที่ปรึกษา
3.การจ้างออกแบบหรือควบคุมการก่อสร้าง
บทนิยาม
พัสดุ -
การจัดซื้อจัดจ้าง -
ราคากลาง
การมีส่วนร่วมของ ปชช
หลักการ
ข้อตกลงคุณธรรม
ให้ ปชช .เข้าสังเกตุการณ์ขั้นตอนใดขั้ตอนหนึ่ง
รายงานความเห็นเสนอต่อ ค.ป.ท.คณะกรรมการความร่วมมือป้องกันการทุจริต
ทำแผนจัดซื้อจัดจ้างประจำเป็น
ยกเว้น เร่งด่วน ฉุกเฉิน ราชการลับ
ไม่ต้องทำแผน
ไม่ต้องประกาศเผยแพร่
1.วิธีคัดเลือก-เร่งด่วน ชวนไม่ทัน ราชการลับ ความมั่นคง
2.เฉพาะเจาะจง- พัสดุ ทั่วไปไม่เกิน 5 แสน
ฉุกเฉิน ภัยพิบัติ
จะขายทอดตลาด
3.เฉพาะเจาะจง - จ้างที่ปรึกษาไม่เกิน 5 แสน
เร่งด่วน ความมั่นคงของชาติ
งานออกแบบ หรือควบคุมก่อสร้าง ที่เเร่งด่วน ความมั่นคง
การยื่นอุทธรณ์
ผู้ยื่นข้อเสนอจัดซื้อฯ
ภายใน 7 วันนับแต่วันประกาศผล
พิจารณา 7 วัน
เห็นด้วย ให้ดำเนินการตาม
ไม่เห็นด้วย ให้รายงานความเห็น ไป
คกกพิจารณาการอุทธร์ ในสามวันทำการ
30 วัน ขยายได้ 2 ครั้ง ครั้งละ 15 วัน (60)
เมื่อพ้น 60 วัยังไม่แล้วเสร็จ ให้ยุติเรื่อง และจัดซื้อัดจ้างได้
หรือ ผู้อุทธรณ์จะฟ้องศาล
บทลงโทษ
ม.120
สรุปประเด็น