Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม - Coggle Diagram
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
ความหมาย
คือ การบำรุงรักษาทวีผล ซึ่งกระทำโดยพนักงานทุกคนผ่านทางกิจกรรมกลุ่มย่อย มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรให้ได้สูงสุด พัฒนาความรู้และทักษะของพนักงาน เเละปรับปรุงผลการดำเนินงานของกิจการ เป็นต้น
นิยามของ TPM
การสร้างความร่วมมือจากทุกคนในองค์กร เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดในการผลิต
จัดสร้างระบบป้องกันความสูญเสียทุกประเภท เพื่อมุ่งสู่เป้าหมาย "Zero Accidents , Zero Defects and Zero Failures"
ทุกหน่วยงานมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรม
ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมตั้งเเต่ผู้บริหารระดับสูงจนถึงพนักงานระดับปฏิบัติงาน
ดำเนินการลดความสูญเสียโดยผ่านกิจกรรมกลุ่มย่อย
การวิวัฒนาการของการบำรุงรักษา
การบำรุงรักษาหลังเหตุขัดข้อง
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การบำรุงรักษาเชิงแก้ไข
การป้องกันการบำรุงรักษา
การบำรุงรักษาทวีผล
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม
หลักการป้องกัน 3 แนวทาง ที่TPM เน้น
รักษาสภาพหรือสภาวะปกติของเครื่องจักร
ค้นพบความผิดปกติตั้งแต่เนิ่นๆ
ผู้ปฏิบัติงาน
ช่างซ่อมบำรุง
การตอบสนองอย่างรวดเร็ว
การปรับปรุงพื้นฐาน 3 ประการที่จำเป็นต่อ TPM
การปรับเปลี่ยนทัศนคติ การเพิ่มความรู้ และทักษะการทำงานของพนักงาน
การเพิ่มแรงจูงใจและการแข่งขัน (จะทำให้การดำเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างต่อเนื่อง)
การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงานที่เหมาะสมต่อการดำเนินกิจกรรม บรรยากาศของการทำงาน การร่วมมือของทุกฝ่าย
5 เสาหลัก (เดิม) ของ TPM
กิจกรรมการปรับปรุงเพื่อเพิ่ม
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
การฝึกอบรม
การบำรุงรุกษาตามแผน
การออกเเบบและเริ่มต้นเครื่องจักรใหม่
ความสูญเสีย 16 ประเภท
ทำให้ประสิทธิภาพเครื่องจักรลดลง
การสูญเสียเนื่องจากการวางเเผนการหยุดเครื่อง
การสูญเสียจากการปรับการผลิต
การขัดข้องของเครื่องจักร
การปรับตั้งเเละการปรับแต่ง
การสูญเสียงเวลาหยุดเล็กน้อย และการเดินเครื่องตัวเปล่า
การสูญเสียความเร็ว
การเกิดของเสียและงานซ่อม
ความสูญเสียช่วงเริ่มต้นผลิต
ทำให้ประสิทธิภาพของคนลดลง
การสูญเสียจากการจัดการ
การสูญเสียจากการเคลื่อนไหว
การสูญเสียจากการจักวางสายการผลิต
การสูญเสียเนื่องจาการไม่นำระบบอัตโนมัติมาใช้
การสูญเสียจากการวัดและปรับเเต่งบ่อย
จากการใช้ทรัพยากรในการผลิต
การสูญเสียผลได้จากการผลิต
การสูญเสียพลังงาน
การสูญเสียเนื่องจากเครื่องมือ จิ๊ก และแม่พิมพ์
ความสูญเสียหลัก 6 ประการที่มีผลต่อเครื่องจักร
เครื่องจักรเสีย
การปรับตั้งเเละปรับแต่ง
การสูญเสียความเร็ว
เครื่องจักรหยุดเล็กๆน้อยๆ และเดินเครื่องตัวเปล่า
ของเสียเ้ละงานแก้ไข
ความสูญเสียช่วงเริ่มต้นผลิต
12 ขั้นตอน ในการทำกิจกรรม TPM
การประกาศเจตนารมณ์ในการทำ TPM ของผู้บริหารระดับสูง
อบรมและรณรงค์ความรู้พื้นฐานของ
TPM
จัดโครงสร้างการทำกิจกรรม TPM และพื้นที่ตัวอย่าง
นโยบายพื้นฐาน และเป้าหมายของ TPM
จัดทำแผนงานหลักของ TPM
พิธีเปิดกิจกรรม TPM
จัดระบบการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
การทำ TPM ในส่วนสนับสนุน
จัดระบบควบคุมช่วงเริ่มต้นของผลิตภัณฑ์และเครื่องจักร
การบำรุงรักษาเชิงคุณภาพ
การจัดการด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม
การดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง