Congestive heart failure ภาวะหัวใจล้มเหลว

ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล

1.เจ็บหน้าอกเนื่องจากปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง

ข้อมูลสนับสนุน

click to edit

S: ผู้ป่วยบอก "1สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาบ มีอาการหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ สูบบุหรี่เจ็บแน่นหน้าอก จุกแน่นใต้ลิ้นปี่นาน20ปี "

O: EKG: ST-elevation V1-V2, ST-Deep S wave V3-V4

ประเมิน Pain score ได้ 7/10 คะแนน,

วัตถุประสงค์

ไม่เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดรุนแรง

เกณฑ์การประเมิน

  1. ผู้ป่วยบอกว่าไม่มีอาการเจ็บหน้าอก หรือเจ็บหน้าอกน้อยลง pain scale 0-3 / 10 คะแนน
  2. คลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่พบการเปลี่ยนแปลงที่แสดงถึงกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด เพิ่มขึ้น

กิจกรรมการพยาบาล

click to edit

  1. ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์ คือ ASA, Clopidogrelรับประทานเพื่อต้านการเกาะตัวของเลือดและเกร็ดเลือด
  1. ดูแลให้ยา Isosorbide dinitrate 5 mg อมใต้ลิ้น แนะนำงดการบ้วนน้ำลาย และเฝ้าระวัง อาการหน้ามืด วูบ และความดันโลหิตอาจลดลงได้ และหากอาการไม่ดีขึ้น อมยาซ้ำได้ห่างกัน 5 นาที
  1. ดูและให้ยา Enoxaparin 0.6 ml sc q 12 hr โดยให้ตามเทคนิค Air Lock
  1. ดูแลให้พักผ่อนประมาณ 7-8 ชั่วโมง และนอนหลับตอนกลางวัน 1-2 ชั่วโมง จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ
  1. ติดตามค่าความอิ่มตัวออกซิเจนปลายนิ้วอย่างต่อเนื่องดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนตามการรักษาโดยให้ ≥ 95%
  1. ประสิทธิภาพในการเเลกเปลี่ยนก๊าซลดลงเนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง

ข้อมูลสนับสนุน

S: ผู้ป่วยบอก" เหนื่อย หายใจอิ่ม นอนไม่ลง"

click to edit

O: มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้, CXR congestive lung cardiomegaly ,

ฟังเสียงปอดพบ Crepitation Bilateral Lower Lid ,pitting edema 1+both legs

สัญญาณชีพ อุณหภูมิ

37องศาเซลเซียส ชีพจร 80ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจ 26 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 150/100

มิลลิเมตรปรอท ความอิ่มตัวออกซิเจนปลายนิ้ว 95%

วัตถุประสงค์

เพื่อการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดมีประสิทธิภาพและเนื้อเยื่อร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ

เกณฑ์การประเมิน

  1. นอนราบได้ไม่มีอาการเหนื่อย ,functional claรs ลดลง
  1. CXR ไม่พบ CHF, ฟังเสียงปอดไม่พบเสียงผิดปกติ เช่น Crepitation
  1. อุณหภูมิ 36.5-37.4 องศาเซลเชียส ชีพจร 60-100 ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจ 16-20 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิต 90/60 -139/89 มิลลิมตปรอท ความอิ่มตัวออกซิเจนปลายนิ้ว> 94 %
  1. เนื้อเยื่อของร่างกาย ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ Capillary refill น้อยกว่า 3 วินาที

กิจกรรมการพยาบาล

click to edit

  1. ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 02 cannula 5 LMP ของออกซิเจนในเลือดมากว่า 94 %
  1. ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ Furosemide 40 mg ตามแผนการ
  1. จัดท่านอนศีรษะสูง 30-60 องศา จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยและเงียบสงบ
  1. ดูแลให้รับประทานอาหารจืด หรือมีเกลือโซเดียมน้อยกว่า 4 กรัมต่อวัน
  1. ควบคุมปริมาณน้ำดื่มน้อยกว่า 1,000 มิลลิลิตรต่อวัน
  1. ดูแลให้ได้รับสารน้ำตามการรักษา และบันทึกปริมาณสารน้ำเข้า - ออก ทุก 8 ชั่วโมง หากพบ

ปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5 มิลลิลิตรต่อกิโลกรัมต่อชั่วโมง ต้องรายงานแพทย์

3.มีภาวะน้ำเกินเนื่องจากกลไกชดเชยของไตเเละเลือดคั่งในหลอดเลือดขาดการควบคุม

ข้อมูลสนับสนุน

S-

click to edit

o: ตรวจร่างกายพบ pitting edema1+both legs

,fine crepitation bilateral lower lid มีหายใจหอบเหนื่อย 26ครั้ง/นาที

วัตถุประสงค์

-เพื่อให้ผู้ป่วยมีความสมดุลของน้ำเเบะเกลือเเร่
-เพื่อให้ผู้ป่วยสุขสบายมีอาการหอบเหนื่อยลดลง

เกณฑ์การประเมิน

click to edit

-ปริมาณน้ำเข้าเท่ากับน้ำออกในร่างกาย

(Intake-OutputหรือIntake <Output)

-IBWอยู่ในเกณฑ์ตามต้องการ

-อาการบวมลดลง

-ค่าAlbuminปกติคือ3.5-5mg/dL

-ค่าTotal proteinปกติ คือ6.4-8.3gm/dL

กิจกรรมการพยาบาล

click to edit

1.ดูเเลให้ผู้ป่วยนอนท่าFowler’s position

2.วัดสัญญาณชีพทุก2-4ชั่วโมง

3.ประเมินอาการบวมทุก8ชั่วโมง

4.ฟังเสียงปอดทุก4-8ชั่วโมงเฝ้าระวังน้ำคั่งในปอด

5.ดูเเลให้ได้รับยา Furosemide40mg v stat และ Furosemide(40mg)2x2oral bid pc

ข้อมูลผู้ป่วย

click to edit

กรณีศึกษา ชายไทยคู่ นามสมมุติ ไม่ทราบนามสกุล

ข้อมูลทั่วไป ชายไทยคู่อายุ 50 ปี น้ำหนัก 75 กิโลกรัม สูง 170 เชนติเมตร

อาการสำคัญหายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก จุกแน่นลิ้นปี 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล

ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน

click to edit

3 เดือน PTA เจ็บแน่นหน้าอก แพทย์วินิจฉัยเป็น STEMI (LVEF 50%) ได้รับยา Streptokinase

และส่งต่อผู้ป่วยเพื่อทำ PCI (แต่ผู้ป่วยไม่สะดวก ไม่พร้อมไปดำเนินการ)

1 เดือน PTA เหนื่อยขณะทำงานและเดิน อยู่เฉยไม่เหนื่อย เดินขึ้นบันไดเหนื่อย (NYHA FC II

ใช้หมอนใบเดียว ไม่มี orthopnea, แต่ตื่นขึ้นมาหอบเหนื่อยตอนกลางคืน

1 สัปดาห์ PTA อาการเหนื่อยเป็นมากขึ้น มีอาการหอบเหนื่อยนอนราบไม่ได้ ต้องนอนหนุน

หมอนสูง จึงมาโรงพยาบาล

ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต

click to edit

ประวัติเจ็บป่วยในอดีต

2 ปี PTA ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัย rheumatic severe MS (mitral stenosis), moderate AS & AR (aortic regurgitation & aortic stenosis) ได้ทําการผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจ (mechanical valve) ทั้ง 2 ลิ้น หัวใจ หลังผ่าตัดผู้ป่วยยังมีอาการหอบเหนื่อยเป็นระยะ

2-3 ปี PTA ได้รับการวินิจฉัย atrial fibrillation: Heart rate 140 ครั้ง/นาที

1 ปี PTA มีอาการวิงเวียน แพทย์วินิจฉัยว่ามีภาวะความดันโลหิตสูง

ในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมามีประวัติซื้อยากินเอง จากอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยกินยาสัปดาห์

ละประมาณ 2-3 วัน วันละ 2 ครั้ง ผู้ป่วยนํายามาให้ดูเป็น Naproxen (275) มีประวัติสูบบุหรี่นาน 20 ปี เลิกสูบแล้วประมาณ 2 ปี

มีประวัติดื่มสุรา 10 ปี แต่ปัจจุบันหยุดดื่มมาแล้วประมาณ 10 ป

ประวัติการรักษาด้วยยา

ประวัติการรักษาด้วยยา Digoxin (0.25) 1 x 1 pc,
Furosemide (40) 1 x 1 pc,
Enalapril (10) 1 x2 pc,
Warfarin (3) 1 x 1 pc,
Ranitidine (150) 1x 2 pc

การรักษา

click to edit

การรักษา

แพทย์วินิจฉัย Heart failure with STEMI ให้ admitted คําสั่งการรักษาดังนี้

  • Furosemide 40 mg v stat และ Furosemide (40 mg) 2X2 oral bid pc.
  • On Oxygen Canula 5 lpm
  • ASA81mg4tabs
  • Isosorbide dinitrate 5 mg
  • Clopidogrel 75 mg 4 tabs
  • Enoxaparin 0.6 ml sc q 12 hr
  • Enalapril (10) 1 x 2 pc., FBC 1X3 oral pc.
  • 0.9%NaCl 1000 ml KVO
  • Retained F/C

ข้อมูลผู้ป่วย V/S; T 37.0°C, HR 78 ครั้ง/นาที, RR 24 ครั้ง/นาที BP 138/92 mmHg, SpO2 97%, pain score ลดลงจาก 7/10 เป็น 3/10

5 วันต่อมาหลัง admitted ผู้ป่วยผู้ป่วยดีขึ้น แพทย์อนุญาตให้กลับบ้าน