Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารตามธาตุ กับวัฒนธรรมจีน - Coggle Diagram
อาหารตามธาตุ
กับวัฒนธรรมจีน
วัฒนธรรรมจีน
ทักทายกันโดยการจับมือ
กล่าวคำว่าสวัสดีว่า “หนี ห่าว”
ประเทศจีนเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดของทวีปเอเชีย
ประเพณีจีน
เทศกาลกินเจ
กินเพื่อสุขภาพ
กินเพื่อเว้นกรรม
กินด้วยจิตเมตตา
เทศกาลเช็งเม้ง
ไหว้บรรพบุรุษที่สุสาน
อาหารจีน
นิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป็นหลัก
อาหารจีน 2 ตระกูลใหญ่ คือ
อาหารเมืองเหนือ และเมืองใต้
อุปกรณ์การกินหลัก คือ ตะเกียบ
การแพทย์แผนโบราณของจีน
มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของธรรมชาติซึ่งประกอบขึ้นจากธาตุหยินและหยาง
การฝังเข็ม
เลือกฝังเข็มบนจุดลมปราณที่อยู่บนเส้นทางการไหลเวียนของเลือดลม
ทฤษฎีธาตุห้าวัฒนธรรมอาหารจีน
อาหารที่ดีไม่ได้ทำหน้าที่แค่ให้ท้องอิ่มหรือรสชาติดีเป็นสำคัญแต่ต้องทำหน้าที่เป็นยา
หลักความสมดุลหยิน-หยาง
รสชาติที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกายและอาหารทำหน้าที่เป็นยาป้องกันและรักษา
ความเชื่อเกี่ยวกับวัฒนธรรมอาหารจีน
‘ดินน้ำถิ่นใด ก็เพื่อเลี้ยงผู้คนถิ่นนั้น’
ทฤษฏีหยิน – หยาง
ร่างกายประกอบด้วยเนื้อเยื่อ โครงกระดูก เส้นผม เล็บ ซึ่งเป็นหยิน
ส่วนหยางคือพลังงานของชีวิต ภายใต้สภาพปกติ
หยินหยางจะมีสภาวะสมดุลในลักษณะที่ตรงกันข้าม ก่อให้เกิดการไหลเวียนของพลังในร่างกายไปทั่วทุกจุด
โรคหยาง เป็นโรคชนิดเฉียบพลัน
โรคหยิน เป็นโรคชนิดเรื้อรัง
รสทั้งห้าของอาหาร
หยาง
รสเผ็ด
รสหวาน
รสจืด
หยิน
รสเปรี้ยว
รสฝาด
รสขม
รสเค็ม
การกินตามหยิน– หยาง
หยินและหยางเท่ากัน
หากอย่างใดอย่างหนึ่งมากหรือน้อยไปจะเกิดโรค
ถ้าตัวร้อนจะกินของเย็น อาหารที่เป็นหยิน
ร่างกายเย็นให้กินของร้อน คืออาหารที่เป็นหยาง
อาการที่พบบ่อยเมื่อหยิน–หยางไม่สมดุล
หยินพร่อง
สารที่เป็นน้ำในร่างกายน้อย
ร้อนใน ปากแห้ง คอแห้ง
หยางพร่อง
ความอบอุ่นหรือไฟในร่างกายน้อยลง ข้างในจึงเย็น
ปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน หน้าตาซีดเซียว
หยางเกิน
เลือดพุ่งขึ้น
อาการหน้าแดง ตาแดง โมโหง่าย ความดันโลหิตสูง
อาหารประจำธาตุ
ดิน
อาหารที่มีสีเหลือง
ไฟ
อาหารที่มีสีแดง
น้ำ
อาหารที่มีสีดำ
ไม้
อาหารที่มีสีเขียวเหลือง
โลหะ
อาหารที่มีสีขาว
ความสัมพันธ์ของธาตุทั้ง 5
มีความสัมพันธ์ต่อกันใน 2 ลักษณะ
การสร้าง
การหนุนเนื่องให้มีการเกิดและการพัฒนา
การข่ม
การคุม หรือกดกันไว้