เสียงในภาษา
เสียง
มี 3 เสียง
เสียงพยัญขนะ
เสียงสระ
เสียงวรรณยุกต์
เสียงพยัญชนะ
ม๊ 44รูป 21 เสียง
ไตรยางค์อักษร 3 หมู่
อักษรกลาง
ก จ ด ต ฏ ฎ บ ป อ
อักษรสูง
ผ ฝ ภ ฐ ข ฃ ศ ษ ส ห ฉ
อักษรต่ำคู่
ต้องใช้อักษรสูงที่เป็นคู่มาผันร่วม
เสียงวรรณยุกต์ถึงจะครบ 5 เสียง
พ ภ ฅ ค ฆ ช ฌ ฟ ท ฑ ฒ ธ ซ ฮ
อักษรต่ำเดี่ยว
ต้องใช้ ห นำ จึงจะผันครบ 5 เสียง
ง ญ ณ น ม ร ย ว ล ฬ
หน้าที่ของพยัญชนะ
พยัญชนะต้น
เช่น แม่ ม คือ พยัญชนะต้น
พยัญชนะท้ายพยางค์หรือตัวสะกด(พยางค์ปิด)
อักษรควบ
ควบแท้
ออกเสียงอักษรสองตัวพร้อมกัน
ควบไม่แท้
ไม่ออกเสียงอักษรตัวที่ควบด้วย
อักษรนำ-ตาม
ตลาด ต อักษรกลาง นำ ล อักษรต่ำ ออกเสียงตาม ต
เป็นสระ
อ ว ร ย
เช่น กวน ว เป็นเสียงสระ อัว ลดรูป
เป็นตัวการันต์
ตัวไหนมีการันต์จะไม่ออกเสียง
เช่น จันทร์ ศิลป์
เสียงสระ
มี 32 เสียง
สระแท้
ออกเสียงตามรูป
สระเสียงสั้น (รัสสระ)
สระเสียงยาว (ทีฆสระ)
สระประสม
การนำสระแท้ 2 เสียงมาประสมกัน
มี่ 6 เสียง
เอียะ เอีย อัวะ อัว เอียะ เอือ
สำหรับสระ
อำ ไอ ใอ
เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
ไม่นับเป็นเสียงสระ (จัดเป็นสระเกิน) เพราะมีเสียงพยัญชนะประสม
เสียงวรรณยุกต์ (เสียงดนตรี)
เป็นเสียงที่เปล่งออกมาพร้อมกับเสียงพยัญชนะ มีเสียงสูงต่ำ
มี 5 เสียง 4 รูป
ส่วนประกอบของภาษา
เสียง(พยางค์) + คำ + ประโนค
ส่วนประกอบของพยางค์
เสียงพยัญขนะ+เสียงสระ+เสียงวรรณยุกต์
การประสมอักษร
3 ส่วน
พยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์
4 ส่วน
พยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์+ตัวสะกด
4 ส่วนพิเศษ
พยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์+ตัวการันต์
5 ส่วน
พยัญชนะ+สระ+วรรณยุกต์+ตัวสะกด+ตัวการันต์